นิยาม ของ การเลือกตั้งแบบถ่ายโอนคะแนนเสียง

เมื่อใช้การเลือกตั้งแบบนี้สำหรับการหาผู้ชนะเพียงคนเดียวจะเทียบเท่ากับ "การลงคะแนนตามลำดับความชอบ" (instant-runoff voting/alternative vote/preferential voting) เมื่อใช้ในการหาผู้ชนะการเลือกตั้งหลายคนบางทีเรียกว่า "การเลือกตั้งระบบสัดส่วนโดยใช้เสียงเดียวแบบถ่ายโอน" (proportional representation through the single transferable vote/PR-STV) โดยปกติแล้วนิยามของการเลือกตั้งแบบถ่ายโอนคะแนนเสียงใช้ในการหาผู้ชนะมากกว่าหนึ่งคน

ใกล้เคียง

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ พ.ศ. 2567 การเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565 การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2563 การเลือกตั้งระบบสัดส่วน การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565

แหล่งที่มา

WikiPedia: การเลือกตั้งแบบถ่ายโอนคะแนนเสียง http://www.isye.gatech.edu/~jjb/papers/stv.pdf //citeseerx.ist.psu.edu/viewdoc/summary?doi=10.1.1... //doi.org/10.1007%2FBF00183045 //doi.org/10.1016%2Fj.electstud.2004.06.004 //doi.org/10.2139%2Fssrn.3778021 //www.jstor.org/stable/41105995 //www.worldcat.org/issn/0176-1714 //www.worldcat.org/issn/1745-6231 //www.worldcat.org/issn/1873-6890 http://www.electoral-reform.org.uk/single-transfer...