การคำนวณ ของ กำลังส่องสว่างดวงอาทิตย์

กำลังส่องสว่างดวงอาทิตย์มีความเกี่ยวข้องกับความรับอาบรังสี ซึ่งถูกตรวจวัดที่โลกหรือดาวเทียมที่โคจรรอบโลก ค่ากลางของความรับอาบรังสีที่ระดับบนสุดของชั้นบรรยากาศของโลก บางครั้งเรียกว่า ค่าคงที่สุริยะ ( I ⊙ {\displaystyle {\begin{smallmatrix}I_{\odot }\end{smallmatrix}}} ) ความรับอาบรังสีจำกัดความว่าเป็นพลังงานต่อหน่วยพื้นที่ ดังนั้น ความสว่างดวงอาทิตย์ (พลังงานทั้งหมดที่ปลดปล่อยจากดวงอาทิตย์) จึงมีค่าเท่ากับความรับอาบรังสีที่โลกได้รับ (ค่าคงที่สุริยะ) คูณกับพื้นที่ของทรงกลมซึ่งมีรัศมีเท่ากับระยะห่างโดยเฉลี่ยระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์:

L ⊙ = 4 π k I ⊙ A 2 {\displaystyle L_{\odot }=4\pi kI_{\odot }A^{2}\,}

เมื่อ A คือ หน่วยระยะทาง (ค่าทางหน่วยดาราศาสตร์เป็นเมตร) และ k เป็นค่าคงที่ (ซึ่งมีค่าใกล้เคียงกับ 1) ซึ่งสะท้อนให้เห็นความจริงที่ว่าระยะห่างโดยเฉลี่ยจากโลกถึงดวงอาทิตย์ไม่เท่ากับ 1 หน่วยดาราศาสตร์

ใกล้เคียง

กำลัง กำลังป้องกันชาติมัลดีฟส์ กำลังส่องสว่างดวงอาทิตย์ กำลังความมั่นคงแห่งชาติปาเลสไตน์ กำลังภายใน กำลังการสงครามพิเศษทางเรือ กำลังกึ่งทหาร กำลังใจคาราบาว 30 ปี กำลังตอบสนองแห่งเนโท กำลังเสือโคร่ง

แหล่งที่มา

WikiPedia: กำลังส่องสว่างดวงอาทิตย์ http://www.nature.com/nature/journal/v443/n7108/ab... http://www.universetoday.com/guide-to-space/the-su... http://lasp.colorado.edu/LISIRD/ http://adsabs.harvard.edu/abs/2003ApJ...583.1024S //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/16971941 http://www.ncdc.noaa.gov/paleo/chapconf/stoykova_a... http://web.sfc.keio.ac.jp/~masudako/edu/text/quatb... //arxiv.org/abs/0911.4872 http://arxiv.org/ftp/arxiv/papers/0801/0801.3807.p... //doi.org/10.1017%2FS1743921309992298