ข้อมูลการแข่งขัน ของ กีฬาตะวันออกไกล

การแข่งขันในครั้งที่ 1 เป็นครั้งเดียวที่ใช้ชื่อว่า "กีฬาโอลิมปิกแห่งตะวันออกไกล" โดยตั้งแต่ครั้งที่ 2 เป็นต้นไปจนถึงครั้งสุดท้าย มีการเปลี่ยนชื่อเป็น "กีฬาชิงชนะเลิศแห่งตะวันออกไกล" ทั้งนี้ ในการแข่งขันครั้งที่ 6 ลู ซัลวาดอร์ (Lou Salvador) นักกีฬาบาสเกตบอลของฟิลิปปินส์ เป็นผู้ทำลายสถิติตลอดกาล (ในขณะนั้น) ด้วยการเป็นผู้เดียวที่ทำคะแนนมากที่สุด ในการแข่งขันบาสเกตบอลระดับนานาชาตินัดเดียว ซึ่งเขาทำได้ถึง 116 คะแนน จนกระทั่งสามารถคว้าเหรียญทองไปครองในที่สุด ด้วยการนำทีมชนะเลิศเหนือทีมของสาธารณรัฐจีนฯ[1]

ครั้งที่วัน/เดือน/พ.ศ.(ค.ศ.)เจ้าภาพกีฬาประเทศเข้าร่วม
14-11 กุมภาพันธ์
พ.ศ. 2456 (ค.ศ. 1913)
กรุงมะนิลา กรีฑา
ว่ายน้ำ
ฟุตบอล
บาสเกตบอล
เทนนิส
เบสบอล
หมู่เกาะฟิลิปปินส์
อาณานิคมช่องแคบ (หมู่เกาะอินเดียตะวันออกของบริเตน)
หมู่เกาะฮ่องกงของบริเตน (ฮ่องกงของจีน)
จักรวรรดิญี่ปุ่น
สาธารณรัฐจีน
ราชอาณาจักรสยาม
215-22 พฤษภาคม
พ.ศ. 2458 (ค.ศ. 1915)
นครเซี่ยงไฮ้ กรีฑา
ว่ายน้ำ
จักรยาน
ฟุตบอล
บาสเกตบอล
เทนนิส
เบสบอล
3พฤษภาคม พ.ศ. 2460
(ค.ศ. 1917)
กรุงโตเกียวไม่มีข้อมูล หมู่เกาะฟิลิปปินส์
อาณานิคมช่องแคบ (หมู่เกาะอินเดียตะวันออกของบริเตน)
หมู่เกาะฮ่องกงของบริเตน (ฮ่องกงของจีน)
จักรวรรดิญี่ปุ่น
สาธารณรัฐจีน
ราชอาณาจักรสยาม
4พฤษภาคม พ.ศ. 2462
(ค.ศ. 1919)
กรุงมะนิลา
530 พฤษภาคม - 4 มิถุนายน
พ.ศ. 2464 (ค.ศ. 1921)
นครเซียงไฮ
6พฤษภาคม พ.ศ. 2466
(ค.ศ. 1923)
นครโอซากา จักรวรรดิญี่ปุ่น
หมู่เกาะฟิลิปปินส์ฯ
สาธารณรัฐจีนฯ
7พฤษภาคม พ.ศ. 2468
(ค.ศ. 1925)
กรุงมะนิลา
8สิงหาคม พ.ศ. 2470
(ค.ศ. 1927)
นครเซียงไฮ เครือรัฐฟิลิปปินส์
อาณานิคมช่องแคบ (หมู่เกาะอินเดียตะวันออกของบริเตน)
หมู่เกาะฮ่องกงของบริเตน (ฮ่องกงของจีน)
จักรวรรดิญี่ปุ่น
สาธารณรัฐจีน
ราชอาณาจักรสยาม
924-31 พฤษภาคม
พ.ศ. 2473 (ค.ศ. 1930)
กรุงโตเกียว กรีฑา
บาสเกตบอล
เบสบอล
มวยสากล
จักรยาน
ฮอกกี้
ฟุตบอล
ยิมนาสติก
ว่ายน้ำ
เทนนิส
เครือรัฐฟิลิปปินส์
อาณานิคมช่องแคบ (หมู่เกาะอินเดียตะวันออกของบริเตน)
หมู่เกาะฮ่องกงของบริเตน (ฮ่องกงของจีน)
จักรวรรดิญี่ปุ่น
สาธารณรัฐจีน
ราชอาณาจักรสยาม
10พฤษภาคม พ.ศ. 2477
(ค.ศ. 1934)
กรุงมะนิลา กรีฑา
ว่ายน้ำ
ฟุตบอล
บาสเกตบอล
เทนนิส
เบสบอล
หมู่เกาะฟิลิปปินส์ฯ
อาณานิคมช่องแคบ (หมู่เกาะอินเดียตะวันออกของบริเตน)
หมู่เกาะอินเดียตะวันออกของดัตช์ (อินโดนีเซีย)
จักรวรรดิญี่ปุ่น
สาธารณรัฐจีนฯ
ราชอาณาจักรสยาม
11พ.ศ. 2481
(ค.ศ. 1938)
นครโอซากายกเลิกการแข่งขัน
หลังจากเกิดสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง เมื่อ พ.ศ. 2480
  • หมายเหตุ - ในช่อง "ประเทศเข้าร่วม" ประเทศซึ่งเป็นเจ้าเหรียญทอง แสดงด้วยตัวหนา ประเทศซึ่งได้เหรียญทองเป็นอันดับสอง แสดงด้วยตัวเอน หากไม่มีการแสดงตัวหนาหรือตัวเอน หมายถึงไม่มีข้อมูลในส่วนนั้น

ใกล้เคียง

กีฬาตะวันออกไกล กีฬาตะวันออกไกล 1913 กีฬาตะวันออกไกล 1915 กีฬาตะวันออกไกล 1921 กีฬาตะวันออกไกล 1917 กีฬาตะวันออกไกล 1927 กีฬาตะวันออกไกล 1930 กีฬาตะวันออกไกล 1934 กีฬาตะวันออกไกล 1923 กีฬาตะวันออกไกล 1925

แหล่งที่มา

WikiPedia: กีฬาตะวันออกไกล http://ejmas.com/jalt/jaltart_abe_0600.htm http://hoopedia.nba.com/index.php?title=Far_Easter... http://philippinebasketballteam.com/islanders http://www.vintagepostcards.com/mm5/merchant.mvc?S... http://www.calpoly.edu/~admorris/TiyuPhotosFECG.ht... http://fpok.upi.edu/the_origin_asiangames.htm http://www.la84foundation.org/OlympicInformationCe... http://www.ocasia.org/Game/GamesL1.aspx?9QoyD9QEWP... https://commons.wikimedia.org/wiki/Category:Far_Ea...