ตัวอย่าง ของ ขั้นตอนวิธีของครูสกาล

ดาวน์โหลดข้อมูลตัวอย่าง

รูปภาพคำอธิบาย
AD และ CE เป็นเส้นเชื่อมที่สั้นที่สุดมีความยาว 5 หน่วย แล้วทำการเลือก AD โดยพลการ และทำการเน้นเส้นเชื่อมนั้น
CE เป็นเส้นเชื่อมที่สั้นที่สุด ณ ตอนนี้ที่ไม่เป็นวัฏจักรโดยมีความยาว 5 แล้วทำการเน้นเป็นเส้นเชื่อมที่สอง
เส้นเชื่อมต่อไปคือ DF มีความยาว 6 หน่วย ได้ถูกเน้นตามวิธีการเดิม
เส้นเชื่อมที่สั้นที่สุดต่อไปคือ AB และ BE ทั้งคือมีความยาว 7 หน่วย เลือก AB โดยใช้หลักพลการ เส้นเชื่อม BD ได้ถูกเน้นเป็นสีแดงเพราะมันอยู่ในแนวเดินระหว่าง B และ D อยู่แล้ว ดังนั้นถ้าเราเลือกจะเกิดวัฏจักรขึ้น (ABD)
กระทำเช่นเดิมไปเรื่อยๆทำการเน้นเส้นเชื่อมที่สั้นที่สุดต่อไป BE ยาว 7 หน่วย และหลายๆเส้นเชื่อมจะถูกเน้นสีแดง: BC เพราะจะเกิดวงวน BCE DE เพราะจะเกิดวงวน DEBA และ FE เพราะจะเกิด FEBAD
ในที่สุด เมื่อกระบวนการเสร็จสิ้นโดยเลือก EG ยาว 9 หน่วยก็จะได้ต้นไม้แบบทอดข้ามน้อยที่สุด

ใกล้เคียง

ขั้นตอนวิธีแบบยุคลิด ขั้นตอนวิธีการค้นหาเพื่อนบ้านใกล้สุด k ตัว ขั้นตอนวิธีของฟลอยด์-วอร์แชล ขั้นตอนวิธีของควิน-แม็กคลัสกีย์ ขั้นตอนวิธีฮังกาเรียน ขั้นตอนวิธี ขั้นตอนวิธีของชอร์ ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรม ขั้นตอนวิธีโบรน-เคอร์โบสท์ ขั้นตอนวิธีของไดก์สตรา

แหล่งที่มา

WikiPedia: ขั้นตอนวิธีของครูสกาล http://www.carlschroedl.com/blog/comp/kruskals-min... http://www.codeproject.com/KB/recipes/Kruskal_Algo... http://www.programyar.com/wp-content/uploads/2012/... http://scanftree.com/Data_Structure/kruskal's-algo... http://students.ceid.upatras.gr/~papagel/project/k... https://github.com/monmohan/mgraphlib https://docs.google.com/file/d/0B2_b0Jz3VKm8RG8zOT... https://en.wikipedia.org/wiki/Kruskal's_algorithm