ความสมเหตุสมผลภายนอก

ความสมเหตุสมผลภายนอก[1](อังกฤษ: External validity)เป็นความสมเหตุผลในการอนุมานเหตุผลโดยอุปนัย (inductive inference) ในงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ โดยปกติอาศัยข้อมูลที่ได้จากการทดลองที่สมเหตุสมผลทางสถิติ[2]กล่าวอีกอย่างก็คือ เป็นขอบเขตที่ผลงานศึกษาจะสามารถใช้ได้ (คือเป็นจริง) โดยทั่วไปในสถานการณ์อื่น ๆ และกับคนอื่น ๆ นอกงานวิจัย[3]ยกตัวอย่างเช่น การอนุมานโดยอุปนัยอาศัยงานศึกษาจิตบำบัดแบบเปรียบเทียบ (comparative psychotherapy) จะต้องทดลองกับตัวอย่างบุคคลที่เฉพาะเจาะจง (เช่น เป็นอาสาสมัคร มีความซึมเศร้าระดับสูง ไม่มีโรคหรืออาการอย่างอื่น)คำถามก็คือว่า ถ้าจิตบำบัดเช่นนี้ประสบผลสำเร็จในตัวอย่างคนไข้เช่นนี้ มันจะมีประสิทธิภาพกับผู้ไม่ใช่อาสาสมัคร หรือผู้มีความซึมเศร้าเล็กน้อย หรือผู้มีโรคหรืออาการอย่างอื่นด้วยหรือไม่ข้อจำกัดมีหลายอย่างรวมทั้ง

ใกล้เคียง

ความสนใจต่อสิ่งภายนอก-ความสนใจต่อสิ่งภายใน ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ ความสัมพันธ์ญี่ปุ่น–ไทย ความสัมพันธ์ไทย–พม่า ความสามารถของบุคคล ความสัมพันธ์จีน–ไทย ความสัมพันธ์ไทย–สหรัฐ ความสัมพันธ์เนโท–สวีเดน ความสัมพันธ์ไทย–รัสเซีย