ความหนาแน่นกระแสสี่มิติ

เวกเตอร์ความหนาแน่นกระแสสี่มิติ J {\displaystyle {\mathsf {J}}} (อังกฤษ: four-current) ในทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษและทั่วไป คือเวอร์ชันซึ่งเป็นลอเรนซ์โคแวเรียนต์ (Lorentz covariant) ของเวกเตอร์ความหนาแน่นกระแสแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic current density) j {\displaystyle \mathbf {j} } เวกเตอร์ความหนาแน่นกระแสสี่มิตินิยามเหมือนกันในทุกระบบ โดยโดยที่ในทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ คำกล่าวของกฎอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (electric charge conservation law) (เมื่อเขียนในรูปสมการจะเรียกว่าสมการความต่อเนื่อง (continuity equation)) คือว่า"ไดเวอร์เจนซ์แบบโลเร็นตซ์อินวาเรียนท์ (Lorentz invariant divergence) ของ เวกเตอร์ความหนาแน่นกระแสสี่มิติ J {\displaystyle {\mathsf {J}}} เป็นศูนย์"เมื่อ ∂ {\displaystyle {\boldsymbol {\partial }}} เป็นตัวดำเนินการ (operator) ถูกเรียกว่าเกรเดียนท์สี่มิติ (four-gradient) และกำหนดโดย ( 1 c ∂ ∂ t , ∇ ) {\displaystyle \left({\frac {1}{c}}{\frac {\partial }{\partial t}},{\boldsymbol {\nabla }}\right)} บางครั้งสมการความต่อเนื่องข้างบนถูกเขียนในรูปในทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป สมการความต่อเนื่องดังกล่าวจะถูกเขียนในรูปโดย semi-colon ; {\displaystyle \left.;\right.} แทนอนุพันธ์โควาเรียนท์ (covariant derivative)

ใกล้เคียง

ความหมายของชีวิต ความหนาแน่น ความหนาแน่นของธาตุ (หน้าข้อมูล) ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ความหลงตนเอง ความหมายโดยนัย ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหนาแน่นประชากร ความหนืด ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศอินเดีย