คูเรียม
คูเรียม

คูเรียม

คูเรียม (อังกฤษ: Curium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 96 และสัญลักษณ์คือ Cm คูเรียมเป็นธาตุโลหะกัมมันตภาพรังสี เป็นธาตุที่สังเคราะห์ขึ้นโดยการยิงพลูโตเนียมด้วยอนุภาคแอลฟ่า (ฮีเลียมไอออน) คูเรียมเป็นธาตุในกลุ่มแอกทิไนด์ (actinide) คูเรียมตั้งชื่อตามมารี กูรีและสามีของเธอ ปิแอร์ กูรี

คูเรียม

สภาพนำไฟฟ้า 1.25[1] µΩ·m
การออกเสียง /ˈkjʊəriəm/
kewr-ee-əm
ความร้อนของการหลอมเหลว ? 15 kJ·mol−1
หมู่ คาบและบล็อก n/a, 7, f
โครงสร้างผลึก เฮกซะโกนัลปิดบรรจุ

ชื่อ สัญลักษณ์ และเลขอะตอม คูเรียม, Cm, 96
มวลอะตอมมาตรฐาน (247)
เลขทะเบียน CAS 7440-51-9
อิเล็กโตรเนกาติวิตี 1.3 (Pauling scale)
รัศมีโควาเลนต์ 169±3 pm
สถานะ ของแข็ง
การค้นพบ เกลนน์ ที. ซีบอร์ก, ราฟ เอ. เจมส์, อัลเบิร์ต เกอร์โซ (1944)
จุดหลอมเหลว 1613 K, 1340 °C, 2444 °F
การจัดเรียงอิเล็กตรอน [Rn] 5f7 6d1 7s2
2, 8, 18, 32, 25, 9, 2
ชั้นพลังงานอิเล็กตรอนของคูเรียม (2, 8, 18, 32, 25, 9, 2)
รัศมีอะตอม 174 pm
ความเป็นแม่เหล็ก แอนติเฟอโรแมกเนติก→พาราแมกเนติก เปลี่ยนที่อุณหภูมิ 52 เคลวิน[1]
การตั้งชื่อ ตาม มารี คูรีและปิแอร์ คูรี
ไอโซโทปNAครึ่งชีวิตDMDE (MeV)DP
ไอโซโทปNAครึ่งชีวิตDMDE (MeV)DP
242Cmtrace160 dSF--
α6.1238Pu
243Cmtrace29.1 yα6.169239Pu
ε0.009243Am
SF--
244Cmtrace18.1 ySF--
α5.8048240Pu
245Cmtrace8500 ySF--
α5.623241Pu
246Cmtrace4730 yα5.475242Pu
SF--
247Cmtrace1.56×107 yα5.353243Pu
248Cmtrace3.40×105 yα5.162244Pu
SF--
250Cmsyn9000 ySF--
α5.169246Pu
β−0.037250Bk
จุดเดือด 3383 K, 3110 °C, 5630 °F
พลังงานไอออไนเซชัน  : 581 kJ·mol−1
อนุกรมเคมี แอกทิไนด์
สถานะออกซิเดชัน 4, 3 (amphoteric oxide)
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) 13.51 g·cm−3