จันทรุปราคา_มกราคม_พ.ศ._2561
จันทรุปราคา_มกราคม_พ.ศ._2561

จันทรุปราคา_มกราคม_พ.ศ._2561

จันทรุปราคาเต็มดวงเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2561 เนื่องจากดวงจันทร์อยู่ใกล้จุดปลายระยะทางวงโคจร เมื่อวันที่ 30 มกราคม จึงเรียกได้ว่า "ซูเปอร์มูน" โดยซูเปอร์มูนครั้งก่อน เกิดขึ้นเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ.​ 2558[1]นอกจากนี้ปรากฏการณ์ดังกล่าวยังเรียกว่าบลูมูน ซึ่งเป็นวันที่ดวงจันทร์เต็มดวงครั้งที่สองของเดือนมกราคม พ.ศ.​ 2561 นอกจากนั้น ยังได้รับการกล่าวถึงในสื่อมวลชนว่า "ซูเปอร์บลูบลัดมูน" (Super Blue Blood Moon)คำว่า "บลัด (blood)" มีนัยยะสื่อถึงสีแดงดั่งโลหิตของดวงจันทร์ระหว่างปรากฎการณ์จันทรุปราคา[2] ปรากฏการณ์นี้เกิดขึ้นครั้งล่าสุดเมื่อวันที 30 ธันวาคม พ.ศ. 2409 สำหรับซีกโลกตะวันออก[3] และก่อนหน้านั้น เมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2409[4][5] ครั้งต่อไปจะเกิดขึ้นในวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2580 ในอีกหนึ่งรอบวัฏจักรเมตอน (19 ปี)

จันทรุปราคา_มกราคม_พ.ศ._2561

(P4) สิ้นสุดจันทรุปราคาเงามัว 16:08:27
แซรอส 124 (49 จาก 73)
บางส่วน 03:22:44
ประเภท เต็มดวง
แกมมา −0.3014
(U3) สิ้นสุดจันทรุปราคาเต็มดวง 14:07:51
บดบังมากที่สุด 13:29:50
บัญชี # (LE5000) 9690
เงามัว 05:17:12
เต็มดวง 01:16:04
(U4) สิ้นสุดจันทรุปราคาบางส่วน 15:11:11
(U2) เริ่มจันทรุปราคาเต็มดวง 12:51:47
ความส่องสว่างเงามัว 2.2941
(P1) เริ่มจันทรุปราคาเงามัว 10:51:15
ความส่องสว่างเงามืด 1.3155
(U1) เริ่มจันทรุปราคาบางส่วน 11:48:27

ใกล้เคียง

จันทรุปราคา จันทร์จิรา จูแจ้ง จันทร์ ขนนกยูง จันทรานำพาสู่ต่างโลก จันทร์พันดาว จันทรุปราคา มกราคม พ.ศ. 2561 จันทร์เจ้าเราสอง จันทรุปราคา กันยายน พ.ศ. 2558 จันทรา จันทร์เจริญ รัชนี

แหล่งที่มา

WikiPedia: จันทรุปราคา_มกราคม_พ.ศ._2561 http://eclipse.gsfc.nasa.gov/LEcat5/LE2001-2100.ht... http://eclipse.gsfc.nasa.gov/LEcat5/appearance.htm... http://eclipse.gsfc.nasa.gov/LEplot/LEplot2001/LE2... http://earthsky.org/tonight/super-blue-moon-eclips... http://www.hermit.org/eclipse/2018-01-31/ https://news.nationalgeographic.com/2018/01/super-... https://www.space.com/39241-first-blue-moon-total-... https://www.space.com/39532-super-blue-blood-moon-... https://www.nasa.gov/feature/super-blue-blood-moon...