จุดมองโกเลีย
จุดมองโกเลีย

จุดมองโกเลีย

จุดมองโกเลีย (อังกฤษ: Mongolian spot, Mongolian blue spot, congenital dermal melanocytosis, dermal melanocytosis[1]) เป็นปานแต่กำเนิดแบนไม่ร้าย มีขอบเป็นคลื่นและรูปทรงไม่แน่นอน เออร์วิน เบลซ์ (Erwin Bälz) เป็นผู้ค้นพบและตั้งชื่อตามชาวมองโกเลีย[2][3] จุดดังกล่าวยังชุกอย่างยิ่งในชาวเอเชียเหนือ เอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อื่น ชาวเกาะกลุ่มเกาะมลายู ชนพื้นเมืองโอเชียเนีย (ชาวไมโครนีเซียและพอลินีเซียเป็นหลัก) ชาวอเมริกันอินเดียน ชาวแอฟริกาตะวันออก ชาวละตินอเมริกาและแคริบเบียนซึ่งมีการสืบเชื้อสายเชื้อชาติผสม และชาวตุรกี[4][5][6] ปกติหายไปสามถึงห้าปีหลังเกิด และแทบไม่เหลือถึงวัยเริ่มเจริญพันธุ์[7] สีน้ำเงินพบมากที่สุด แต่อาจเป็นสีน้ำเงินเทา น้ำเงินดำหรือน้ำตาลเข้มก็ได้

แหล่งที่มา

WikiPedia: จุดมองโกเลีย http://www.diseasesdatabase.com/ddb8342.htm http://www.drgreene.com/21_1143.html http://www.emedicine.com/derm/topic%7B%7B%7BeMedic... http://www.icd9data.com/getICD9Code.ashx?icd9=757.... http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/17172067 http://www.nlm.nih.gov/cgi/mesh/2020/MB_cgi?field=... http://www.nlm.nih.gov/medlineplus/ency/article/00... http://apps.who.int/classifications/icd10/browse/2... http://www.tokyo-med.ac.jp/genet/msp/about.htm http://skin-care.health-cares.net/Mongolian-blue-s...