ไทย ของ ชัยชนะอย่างถล่มทลาย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของไทยหลัง พ.ศ. 2540 ส่วนใหญ่เป็นการเลือกตั้งในระบบแบ่งเขตคะแนนสูงสุด ควบคู่ไปกับระบบสัดส่วนแบบบัญชีรายชื่อ โดยคิดคะแนนที่นั่ง ส.ส. แบบแบ่งเขต และ ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ เป็นเอกเทศจากกันด้วยบัตรเลือกตั้ง 2 ใบ ซึ่งระบบและการคิดคะแนนแบบนี้เอื้อต่อพรรคใหญ่ และเพิ่มโอกาสการเกิดชัยชนะอย่างถล่มทลาย การชนะแบบถล่มทลายในไทยมักเกิดขึ้นจากการได้คะแนนเสียงข้างมากของพรรคการเมืองหนึ่ง ๆ หรือเกิดขึ้นหลังจากวิกฤตการณ์ทางการเมือง หรือหลังการลงจากอำนาจของรัฐบาลที่มาจากการรัฐประหาร

  • พ.ศ. 2549 ― พรรคไทยรักไทย ชนะด้วยที่นั่งในสภารวม 420 ที่นั่ง แต่อย่างไรก็ตามศาลรัฐธรรมนูญได้ตัดสินให้การเลือกตั้งดังกล่าวเป็นโมฆะ[3]

ใกล้เคียง

ชัยชน โลว์เจริญกูล ชัยชนะ บุญนะโชติ ชัยชนะ เดชเดโช ชัยชนะของชาวนอร์มันต่ออิตาลีตอนใต้ ชัยชนะอย่างถล่มทลาย ชัยชนะของโมเสส (มิเล) ชัยชนะของเจได ชัยชนะของชาวนอร์มันต่ออังกฤษ ชัยชนะที่มืดมน ชัยชนะของสถาบันสถาปนา