ชุดตัวอักษรฮีบรู
ชุดตัวอักษรฮีบรู

ชุดตัวอักษรฮีบรู

ชุดตัวอักษรฮีบรู เป็นชุดของอักษรตระกูลเซมิติกไร้สระชนิดหนึ่ง ใช้ในการเขียนงานในภาษาฮีบรู ในยุคแรก ๆ ชุดตัวอักษรฮีบรูโบราณพัฒนามาจากชุดตัวอักษรฟินิเชีย ชุดตัวอักษรฮีบรูรุ่นใหม่พัฒนามาจากชุดตัวอักษรแอราเมอิกรุ่นแรก ๆ จารึกภาษาฮีบรูพบครั้งแรกเมื่อ 557 ปีก่อนพุทธศักราช อักษรนี้เขียนจากขวาไปซ้ายในแนวนอน ตัวอักษรบางตัว เช่น กาฟ (ך/כ), เมม (ם/מ), นุน (ן/נ), ฟี (ף/פ) และซาดดี (ץ/צ) มีรูปท้ายคำ ซึ่งจะพบในตำแหน่งสุดท้ายของคำเท่านั้น ไม่มีตัวเลข ใช้เลขอารบิกแทน สระเสียงยาวกำหนดโดยตัว อะเลฟ (א), วาว (ו) และโยด/ยุด (י) ไม่แสดงสระเสียงสั้นยกเว้นในไบเบิล กวีนิพนธ์ และหนังสือสำหรับเด็กและชาวต่างชาติ

ชุดตัวอักษรฮีบรู

ISO 15924 Hebr
ช่วงยุค ศตวรรษที่ 2–1 ก่อนคริสตกาล จนถึงปัจจุบัน[1]
ระบบแม่
ช่วงยูนิโคด
ระบบลูก ยิดดิช
ระบบพี่น้อง
ชนิด อักษรไร้สระที่ไม่บริสุทธิ์
ภาษาพูด ฮีบรู, ยิดดิช, ลาดิโน, Mozarabic

ใกล้เคียง

ชุดตัวอักษรอาหรับ ชุดตัวอักษรกรีก ชุดตัวอักษรอูรดู ชุดตัวอักษรยาวี ชุดตัวอักษรละติน ชุดตัวอักษรทาจิก ชุดตัวอักษรเปอร์เซีย ชุดตัวหนังสือพยางค์เชโรกี ชุดตัวอักษรฮีบรู ชุดตัวอักษรสากลสำหรับการถอดอักษรภาษาสันสกฤต