การใช้บันไดเสียง ของ ซิมโฟนีหมายเลข_5_(เบทโฮเฟิน)

ซิมโฟนีหมายเลข 5 อยู่บันไดเสียง ซีไมเนอร์ (C minor) มีนักวิจารณ์ให้ความเห็นว่าสำหรับเบทโฮเฟินแล้ว บันไดเสียงนี้เป็นตัวแทนของ “น้ำเสียงแบบวีรบุรุษ และมีความเกรี้ยวกราด” และเขาใช้บันไดเสียงนี้สำหรับงานที่มีความเข้มข้นเป็นพิเศษ หรือ สงวนไว้สำหรับดนตรีที่แสดงออกทางอารมณ์สูงสุดของเขา

ผลงานอื่น ๆ ของเบทโฮเฟินในบันไดเสียง ซีไมเนอร์ ที่ให้ภาพในลักษณะดังกล่าว มีดังนี้

  • "Piano Sonata No. 5", Opus 10 no. 1 (1795-8)
  • "Piano Sonata No. 8", Opus 13, "Pathetique" (1798)
  • "Piano Concerto No. 3" no. 3 (1800)
  • "String Quartet No. 4", Opus 18, no. 4 (1800)
  • "Sonata in C minor for Violin and Piano", Op. 30, no. 2 (1802)
  • "Symphony No. 3"; second "Funeral March" movement (1803)
  • "Coriolanus" overture, Opus 62 (1807)
  • "Piano Sonata No. 32", Op. 111 (1822)

ใกล้เคียง

ซิมโฟนีหมายเลข 5 (เบทโฮเฟิน) ซิมโฟนีหมายเลข 3 (เบทโฮเฟิน) ซิมโฟนีหมายเลข 9 (เบทโฮเฟิน) ซิมโฟนีหมายเลข 6 (เบทโฮเฟิน) ซิมโฟนี ซิมโฟนีหมายเลข 9 (ดโวชาก) ซิมโฟนีหมายเลข 6 (ไชคอฟสกี) ซิมโฟนีหมายเลข 1 (ชูมัน) ซิมโฟนีหมายเลข 7 (เบทโฮเฟิน) ซิมโฟนีหมายเลข 2 (ไชคอฟสกี)