การจัดจำแนก ของ ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต

การจัดจำแนกของ James Matisoff

การจัดจำแนกของ George van Driem

การจัดแบ่งแบบนี้ให้ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าขึ้นมาเป็นตระกูลใหญ่ และให้ภาษาจีนเป็นกลุ่มย่อย เป็นดังนี้

  • พราหมาปูตรัน ได้แก่ ภาษาธิมิล ภาษาโบโด-กอซ (รวมภาษาตรีปุระ ภาษากาโร) กลุ่มกอนยัค (รวมภาษานอคต์) กลุ่มกะชีน (รวมภาษาจิ่งเผาะ)
  • กลุ่มทิเบต-พม่าใต้ ได้แก่กลุ่มโลโล-พม่า กลุมกะเหรี่ยง
  • กลุ่มจีน-ทิเบต ได้แก่ ภาษาจีน ภาษากลุ่มทิเบต-หิมาลัย (รวมภาษาทิเบต) ภาษากลุ่มกิรันตี ภาษากลุ่มตามันกิก และอื่นๆ
  • ภาษากลุ่มอื่นๆที่เป็นกลุ่มหลักของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าเดิม เช่น ภาษาเนวารี ภาษาเกวียง ภาษานุง ภาษามาคัร

การจัดแบ่งแบบนี้เรียกสมมติฐานจีน-ทิเบต โดยถือว่าภาษาจีนและภาษาทิเบตมีความใกล้เคียงกัน

ใกล้เคียง

ตระกูลชินวัตร ตระกูลจิราธิวัฒน์ ตระกูลเจียรวนนท์ ตระกูลภาษาขร้า–ไท ตระกูลบุนนาค ตระกูลเจ้าเจ็ดตน ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก ตระกูลอักษรพราหมี ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ตระกูลล่ำซำ