ธรณีวิทยา ของ ที่ราบสูงโคราช

dic ferralsols ตัวอย่างเช่นดินบริเวณจ.ยโสธร ผิวหน้าของที่ราบสูงโคราช ครั้งหนึ่งเคยจำแนกว่าถูกปกคลุมด้วย ศิลาแลง,และชั้น oxisol เกิดในภูมิอากาศแบบร้อนชื้นในช่วง early Tertiary มีสีแดงสด วางตัวอยู่บนชั้นของ gravel ที่มีประโยชน์ต่อการเกษตร ที่ราบสูงที่นี้ประกอบด้วยส่วนที่หลงเหลือของแผ่นทวีปซุเมเรียนและแผ่นฉาน-ไทย oxisol เป็น rhodic ferralsols ตัวอย่างเช่นดินบริเวณจังหวัดยโสธร ลักษณะสำคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือแทบทั้งหมดถูกปิดทับด้วยกลุ่มหินโคราช(Khorat Group) ในยุคมีโซโซอิก (Mesozoic) และกลุ่มหินที่อ่อนกว่าคือกลุ่มหินมหาสารคามและภูทอก และมีกลุ่มหินที่แก่กว่า(ยุคพาลีโอโซอิก) โผล่ตามขอบด้านตะวันตก และยังมีหินภูเขาไฟยุคเทอร์เชียรี ซึ่งมีอายุอ่อนกว่าปิดทับอยู่บางบริเวณทางตอนใต้ของที่ราบสูงนี้ การเรียงลำดับชั้นหินพร้อมทั้งอายุ กลุ่มหินที่มีความสำคัญมีอยู่ 3 กลุ่มจากอายุแก่ไปหากลุ่มหินที่มีอายุอ่อนดังนี้ กลุ่มหินยุคเพอร์เมียน(Permian Group)กลุ่มหินยุคไทรแอสสิก(Triassic Group) กลุ่มหินโคราช(Khorat Group)