ผลงานวิชาการและอื่นๆ ของ ธำรงศักดิ์_เพชรเลิศอนันต์

งานศึกษาวิจัย

  • “แนวความคิดทางการเมืองและเศรษฐกิจไทยของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช สมัยเป็นนายกรัฐมนตรี” ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (อนุมัติเผยแพร่ 2544)
  • ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช นายกรัฐมนตรี กรุงเทพฯ: มติชน-ศิลปวัฒนธรรมฉบับพิเศษ, 2546. (หนังสือจากงานวิจัยข้างต้น)
  • “บทที่ 11: สมัยรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร หลังการเลือกตั้ง พ.ศ. 2512 ถึงเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 (8 มีนาคม พ.ศ. 2512 ถึง 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516” ใน ปิยนาถ บุนนาค และคณะ รายงานผลการวิจัยเรื่อง “พัฒนาการระบบคณะรัฐมนตรีไทย หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 – 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519.” เอกสารโรเนียวเย็บเล่ม. สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, 2549 หน้า 480-544 (13 บท 595 หน้า)

หนังสือวิชาการ

  • 2475 และ 1 ปีหลังการปฏิวัติ</ref> กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2544. (จากวิทยานิพนธ์ปริญญาโท สาขาประวัติศาสตร์ เรื่อง “รัฐประหาร 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476” ได้รับรางวัลชมเชยจากการประกวดวิทยานิพนธ์ยอดเยี่ยมของสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2534) และพิมพ์ครั้งใหม่ใน ปฏิวัติ 2475 (กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2547) (พิมพ์ครั้งที่ 2, 2552)
  • “ข้ออ้าง” การปฏิวัติ-รัฐประหาร-กบฏ ในการเมืองไทยปัจจุบัน: บทวิเคราะห์และเอกสาร. (กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2550)
  • ธรรมศาสตร์การเมืองไทย : จากปฏิวัติ 2475 ถึง 14 ตุลาคม 2516 – 6 ตุลาคม 2519. (กรุงเทพฯ : มติชน-ศิลปวัฒนธรรมฉบับพิเศษ, 2547)
  • สยามประเทศไทย กับ “ดินแดน” ในกัมพูชาและลาว. (กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2552).

หนังสือสารคดีวิชาการ

งานแปล

  • ทักษ์ เฉลิมเตียรณ การเมืองระบบพ่อขุนอุปถัมภ์แบบเผด็จการ. ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 3 แปลจาก Thak Chaloemtiarana. Thailand: The Politics of Despotic Paternalism. ร่วมแปลกับ พรรณี ฉัตรพลรักษ์ และ ม.ร.ว.ประกายทอง สิริสุข (กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2552), (ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 3, 2548)

ผลงานวิชาการที่ตีพิมพ์แล้ว

  • “การเมืองไทยในระบบสภาผู้แทนราษฎร : การเลือกตั้งครั้งแรก พ.ศ. 2476.” ใน ศิลปวัฒนธรรม 9 : 8 (มิถุนายน 2531), หน้า 62-85. และ 9 : 9 (กรกฎาคม 2531), หน้า 68-76.
  • “การเรียกร้องดินแดน พ.ศ. 2483 : พิจารณาปัจจัยภายในเชิงคำอธิบาย.” ใน สมุดสังคมศาสตร์ (วารสารของสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย) 12 : 3-4 (กุมภาพันธ์-กรกฎาคม 2533), หน้า 23-83.
  • “1 ปีหลังการปฏิวัติ 2475.” ใน รัฐศาสตร์สาร (วารสารคณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์) 17 : 2 (2535), หน้า 1-66
  • “ประวัติจอมพล ป. พิบูลสงคราม” ใน จอมพล ป. พิบูลสงคราม กับการเมืองไทยสมัยใหม่. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2540, หน้า (16) - (35)
  • “เรื่องชื่อ “ประเทศไทย” : วิวัฒนาการทางการเมืองไทย.” ใน วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (คณะศิลปศาสตร์ ม.รังสิต) 1 : 3 (กันยายน-ธันวาคม 2543), หน้า 43-55
  • “ทองเปลว ชลภูมิ์ : ชีวิตและงาน.” ใน ปรีดี พนมยงค์ และ 4 รัฐมนตรีอีสาน+1 กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ร่วมกับ หอจดหมายเหตุ

ธรรมศาสตร์, 2544, หน้า 256-306

  • “ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช กับการเมืองไทย.” ใน วารสารรวมบทความประวัติศาสตร์ (สมาคมประวัติศาสตร์) ฉบับปีที่ 23 พ.ศ. 2544, หน้า 62-117
  • “แนวความคิดทางการเมืองและเศรษฐกิจไทยของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช สมัยเป็นนายกรัฐมนตรี.” ใน วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (คณะศิลปศาสตร์ ม.รังสิต) 3 : 6 (มกราคม-เมษายน 2545), หน้า 80-99
  • “10 ธันวาคม วันพระราชทานรัฐธรรมนูญ หรือ วันรัฐธรรมนูญ?” ใน ชาญวิทย์ เกษตรศิริ บรรณาธิการ, ธรรมศาสตร์และการเมืองเรื่องพื้นที่ : สู่ทศวรรษที่ 7 ปฏิวัติ 2475 / สถาปนา มธก. 2477. (กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2548), หน้า 89-113.
  • “14 ตุลา “วันประชาธิปไตย” กับปัญหาเมื่อวาระครบรอบ 30 ปี.” ใน ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, 3ทศวรรษ 14 ตุลา กับประชาธิปไตยไทย. (กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2547), หน้า 131-143.
  • “เดินประชาธิปไตย : จากหมุด 2475 ลานพระบรมรูปทรงม้า – อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ถึงลานโพธิ์ ธรรมศาสตร์.” ใน รัฐสภาสัญจร : เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา มหาราชินี (กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2547), หน้า 1-12
  • “รัชกาลที่ 5 กับฝรั่งเศสและกัมพูชา” ใน ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และ อรอนงค์ ทิพย์พิมล, รัชกาลที่ 5: สยามกับอุษาคเนย์และชมพูทวีป. (กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ และมูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย, 2547), หน้า 433-492
  • "“จอมพล ป. พิบูลสงคราม กับการ ‘ส้างวัธนธัมไทยใหม่’.” ใน สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ. บรรณาธิการ.

สายธารแห่งอดีต. กรุงเทพฯ: ภาควิชาปรวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณืมหาวิทยาลัย, 2549, หน้า 265-317

เอกสารวิชาการนำเสนอในที่ประชุมสัมมนา

  • “คดีกบฏ พ.ศ. 2482: บทสรุปของการต่อสู้ทางการเมืองหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง” เอกสารประกอบการเสวนาทางวิชาการเรื่อง “50 ปี อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : ทบทวนประวัติศาสตร์คณะราษฎร” จัดโดยมูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2532 ณ ห้องประชุมชั้น 7 อาคารอเนกประสงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • “1 เมษายน 2476 : รัฐประหารครั้งแรกของไทย” การสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ภาษากับประวัติศาสตร์ไทยและความเคลื่อนไหวในวิชาประวัติศาสตร์ไทย” จัดโดย โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ร่วมกับ สมาคมประวัติศาสตร์ ณ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า นครนายก วันที่ 16-18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2533
  • "“กัมพูชาในกระแสการเปลี่ยนแปลง: การเมืองและเศรษฐกิจระหว่างปี 1990-2000” ในการประชุมวิชาการอินโดจีนศึกษาครั้งที่ 1 เรื่อง “อินโดจีนในกระแสการเปลี่ยนแปลง” จัดโดย ศูนย์วิจัยสังคมอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันที่ 29-30 พฤศจิกายน 2544, 14 หน้า
  • “รัชกาลที่ 5 กับฝรั่งเศสและกัมพูชา” ในการสัมมนาเรื่อง “รัชกาลที่ 5 : สยามกับอุษาคเนย์และชมพูทวีป” (การสัมมนาวิชากาเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสที่วันพระบรมราชสมภพครบ 150 ปี) วันที่ 20 พฤศจิกายน 2546 ณ ศูนย์ประชุมมานุษยวิทยาสิรินธร จัดโดย มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย บริษัทโตโยต้ามอเตอร์ประเทศไทย และศูนย์ประชุมมานุษยวิทยาสิรินธร, 34 หน้า