บราซิลสมัยอาณานิคม
บราซิลสมัยอาณานิคม

บราซิลสมัยอาณานิคม

อาณานิคมบราซิล (โปรตุเกส: Brasil Colonial; อังกฤษ: Colonial Brazil) ได้หลอมรวมยุคประวัติศาสตร์ของบราซิล มาตั้งแต่ค.ศ. 1500 เนื่องจากการเข้ามาตั้งถิ่นฐานของโปรตุเกส หลังการค้นพบดินแดนโดยเปโตร เอลเรล์ คราเบอัล จนถึงปีค.ศ. 1815 เมื่อบราซิลได้รับการยกฐานะเป็นราชอาณาจักรร่วมกับราชอาณาจักรโปรตุเกสและราชอาณาจักรแอลการ์ฟในฐานะ สหราชอาณาจักรโปรตุเกส บราซิล และแอลการ์ฟ ในช่วง 300 ปีต้น ๆ ของประวัติศาสตร์ของการล่าอาณานิคมของบราซิล การแสวงหาผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจของดินแดนนี้มีพื้นฐานมาจากการสกัดต้นบราซิล (pau brazil) (เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ 16) ซึ่งทำให้ดินแดนนี้มีชื่อเรียกตามต้นไม้ดังกล่าว[3] การผลิตน้ำตาลจากการนำทาสชาวแอฟริกันมาเก็บเกี่ยวต้นอ้อย (เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 16-18) และการขุดทองและเพชรที่ได้ค้นพบ (เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ 18) ทาสโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ที่นำมาจากทวีปแอฟริกาซึ่งเป็นแรงงานส่วนใหญ่ของเศรษฐกิจ การส่งออกของบราซิลเกิดขึ้น หลังจากทาสชาวอินเดียใช้เวลาช่วงสั้น ๆ เพื่อทำการตัดต้นบราซิล

บราซิลสมัยอาณานิคม

ประวัติศาสตร์  
• ยกฐานะเป็นราชอาณาจักรและสถาปนาเป็นสหราชอาณาจักร 13 ธันวาคม ค.ศ. 1808
สกุลเงิน เรลอัลโปรตุเกส
การปกครอง สมบูรณาญาสิทธิราชย์
ภาษาทั่วไป โปรตุเกส (ราชการ)
ทาลปีอาลคาล, นีทีกุรู, ภาษาพื้นถิ่นหลากหลาย
สถานะ อาณานิคมของราชอาณาจักรโปรตุเกส
• การมาถึงของเปโตร เอลเรล์ คราเบอัล ในนามของจักรวรรดิโปรตุเกส 22 เมษายน ค.ศ. 1500/1534
อุปราช  
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ  บราซิล
 อุรุกวัย
• รวม 8,100,200[1] ตารางกิโลเมตร (3,127,500 ตารางไมล์)
• ค.ศ. 1549–1553 ตูเม เด ซูวอาซา (คนแรก)
• ค.ศ. 1500–1521 พระเจ้ามานูแวลที่ 1 (คนแรก)
เมืองหลวง ซัลวาดอร์
(ค.ศ. 1549–1763)
รีโอเดจาเนโร
(ค.ศ. 1763–1822)
• ค.ศ. 1806–1808 มาโคส เด โนโรนญา (คนสุดท้าย)
พระมหากษัตริย์  
• ค.ศ. 1777–1815 สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 (คนสุดท้าย)
ศาสนา คริสต์นิกายโรมันคาทอลิก (ทางการ)
ศาสนาแอฟริกัน-บราซิล, ศาสนายิว, ศาสนาพื้นถิ่น

ใกล้เคียง

บราซิลเลียนยิวยิตสู บราซิลเน็กซ์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 4 บราซิเลีย บราซิลพบเยอรมนี (ฟุตบอลโลก 2014) บราซิลนัต บราซิล แอนิมาโด บราซิลเน็กซ์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 3 บราซิลเน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 2 บราซิลสมัยอาณานิคม บราซิล