ราชประวัติ ของ พระยาแสนซ้าย

พระยาแสนซ้าย สันนิษฐานว่าเดิมเป็นขุนนางตำแหน่งแสนซ้ายมาก่อน เมื่อพระยาศรีสุริยวงศ์ (พระเมืองไชย) ถูกกักตัวที่กรุงเทพมหานครในปี พ.ศ. 2330 แล้ว พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกจึงได้สถาปนาให้เป็นพระยาแพร่แทน ได้รับยศเป็น พระยาแสนซ้าย[1][ระบุข้อมูลอ้างอิงไม่ครบ]

ภายหลังเมื่อพระยาแสนซ้ายถึงแก่พิราลัยแล้ว พระเมืองไชย (พระเมืองใจ) ราชโอรสจึงได้เสด็จขึ้นครองนครแพร่ต่อจากพระองค์เป็นพระยาเทพวงศ์ ตามที่พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 4 ฉบับเจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค) กล่าวว่า

"...เมืองแพร่นั้น เมื่อแผ่นดินพระบาทสมเด็จฯ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกนั้น พระยาแสนซ้ายได้เป็นเจ้าเมือง ครั้นถึงแก่กรรมแล้ว โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ตั้งพระเมืองใจบุตรพระยาแสนซ้ายเป็นพระยาแพร่..."[2][ระบุข้อมูลอ้างอิงไม่ครบ]

ใกล้เคียง

พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) พระยาพิชัยดาบหัก พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ) พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน) พระยาวิไชเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน) พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)