เริ่มจากปฏิสนธิ ของ พัฒนาการของสมองมนุษย์

วัน เหตุการณ์ อ้างอิง
33posterior commissure ปรากฏAshwell et al. (1996)[2]
33medial forebrain bundle ปรากฏAshwell et al. (1996)[2]
44mammillothalamic tract ปรากฏAshwell et al. (1996)[2]
44stria medullaris thalami ปรากฏAshwell et al. (1996)[2]
51optic stalk เกิดแอกซอนDunlop et al. (1997)[3]
56external capsule ปรากฏAshwell et al. (1996)[2]
56stria terminalis ปรากฏAshwell et al. (1996)[2]
60แอกซอนจากตาเข้าไปในศูนย์สายตาต่าง ๆ ในสมองDunlop et al. (1997)[3]
63internal capsule ปรากฏAshwell et al. (1996)[2]
63fornix ปรากฏAshwell et al. (1996)[2]
70anterior commissure ปรากฏAshwell et al. (1996)[2]
77hippocampal commissure ปรากฏAshwell et al. (1996)[2]
87.5คอร์ปัสคาโลซัมปรากฏAshwell et al. (1996)[2]
157.5ตาเปิดClancy et al. (2007)[4]
175ipsi/contra segregation in LGN and SCRobinson & Dreher (1990)[5]

งานศึกษาต่าง ๆ ได้ระบุว่า มีโครงสร้างปฐมภูมิ 3 อย่างที่เกิดในสัปดาห์ที่ 6 ในครรภ์คือ สมองส่วนหน้า สมองส่วนกลาง สมองส่วนหลัง (hindbrain) ซึ่งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า prosencephalon, mesencephalon และ rhombencephalon ตามลำดับโครงสร้างทุติยภูมิ 5 ส่วนจะเกิดจากโครงสร้างปฐมภูมิในสัปดาห์ที่ 7คือ telencephalon, diencephalon, mesencephalon, metencephalon และ myelencephalon โพรงสมองข้าง โพรงสมองที่สาม ท่อน้ำสมอง และโพรงสมองที่สี่ทั้งส่วนบนส่วนล่างที่พบในผู้ใหญ่เกิดจากโครงสร้างทุติยภูมิเหล่านั้น[6]รอยพับแรกในสมองจะเกิดในช่วงระหว่างสัปดาห์ที่ 24-32[7]

ใกล้เคียง

พัฒนาการของสมองมนุษย์ พัฒนา สัพโส พัฒนาการความต้องการทางเพศ การพัฒนาการเมือง การพัฒนาอย่างยั่งยืน การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์ นักพัฒนาซอฟต์แวร์ การพัฒนาซอฟต์แวร์ การพัฒนาไฟนอลแฟนตาซี XV การพัฒนาเศรษฐกิจ