ประวัติทางอุตุนิยมวิทยา ของ พายุโซนร้อนขนุน_(พ.ศ._2555)

แผนที่แสดงเส้นทางและความรุนแรงของพายุตามมาตราแซฟเฟอร์–ซิมป์สัน
  • วันที่ 12 กรกฎาคม มีหย่อมความกดอากาศต่ำก่อตัวขึ้นบริเวณตะวันตกเฉียงเหนือของกวม
  • วันที่ 14 กรกฎาคม สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) ประกาศเพิ่มความรุนแรงของระบบเป็นดีเปรสชันเขตร้อน
  • วันที่ 15 กรกฎาคม ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (JTWC) ได้ประกาศการแจ้งเตือนการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน และประกาศเพิ่มระดับความรุนแรงของระบบเป็นดีเปรสชันเขตร้อน
  • วันที่ 16 กรกฎาคม JMA ประกาศเพิ่มระดับความรุนแรงของระบบเป็นพายุโซนร้อน และใช้ชื่อ "ขนุน" ต่อมาอีกไม่นาน JTWC ก็ประกาศเพิ่มระดับความรุนแรงระบบเป็นพายุโซนร้อนด้วย พายุเคลื่อนตัวเข้าไปในพื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์ PAGASA จึงประกาศใช้ชื่อ "เอนเทง" ในเวลาสั้นๆ ก่อนที่พายุจะเคลื่อนตัวออกจากพื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์ไป
  • วันที่ 17 กรกฎาคม JMA ประกาศเพิ่มระดับความรุนแรงของขนุน เป็นพายุโซนร้อนกำลังแรง ขณะที่ศูนย์กลางของพายุผ่านเกาะโอะกิโนะเอะระบุ
  • วันที่ 18 กรกฎาคม JMA ประกาศลดระดับความรุนแรงของขนุนเป็นพายุโซนร้อน ขณะอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ค่อนใต้ของเกาะเชจู

ใกล้เคียง

พายุโซนร้อนปาบึก (พ.ศ. 2562) พายุโซนร้อนแฮเรียต พายุโซนร้อนกำลังแรงขนุน (พ.ศ. 2555) พายุโซนร้อนเมกี (พ.ศ. 2565) พายุโซนร้อนเซินกา (พ.ศ. 2560) พายุโซนร้อนกำลังแรงนกเต็น (พ.ศ. 2554) พายุโซนร้อนกำลังแรงลินดา พายุโซนร้อนวาชิ (พ.ศ. 2554) พายุโซนร้อนกำลังแรงเลกีมา พายุโซนร้อน