ศัพทวิทยา ของ พิพิธภัณฑ์วิทยา

คำศัพท์ที่ใช้ระบุถึงสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวข้องพิพิธภัณฑ์แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับภาษาและภูมิศาสตร์ ตัวอย่างเช่น แม้คำว่า “museology” (พิพิธภัณฑ์วิทยา) จะแพร่หลายมากขึ้นในภาษาอังกฤษ แต่มักใช้เพื่อกล่าวถึงถึงการศึกษาเกี่ยวกับพิพิธภัณฑ์ในประเทศฝรั่งเศส (muséologie) สเปน (museología) เยอรมนี (Museologie) อิตาลี (museologia) และโปรตุเกส ( museologia) ในขณะที่ผู้พูดภาษาอังกฤษมักใช้คำว่า "museum studies" (พิพิธภัณฑ์ศึกษา) เพื่อกล่าวถึงสาขาวิชาเดียวกันนี้[1] เมื่อกล่าวถึงการดำเนินงานในแต่ละวันของพิพิธภัณฑ์ ภาษายุโรปอื่น ๆ มักจะใช้คำที่มาจาภาษากรีก “museographia” (ฝรั่งเศส: muséographie, สเปน: museografía, เยอรมนี: Museographie, อิตาลี: museografia, โปรตุเกส: museografia) ในขณะที่ผู้พูดภาษาอังกฤษโดยทั่วไปจะใช้คำว่า “museum practice” หรือ “operational museology”[2]

ใกล้เคียง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ พิพิธภัณฑ์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิพิธภัณฑ์การบินเพิร์ลฮาร์เบอร์ พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นวัดคุ้งตะเภา พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ พิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำมอนเทอเรย์เบย์ พิพิธภัณฑ์ศิลปะสมัยใหม่

แหล่งที่มา

WikiPedia: พิพิธภัณฑ์วิทยา https://www.tate.org.uk/research/publications/tate... https://web.archive.org/web/20150616014713/http://... http://icom.museum/fileadmin/user_upload/pdf/Key_C... https://doi.org/10.1525%2Fvar.1995.11.1.118 https://doi.org/10.2307%2F3824277 https://www.jstor.org/stable/3824277 https://web.archive.org/web/20150615202024/http://... http://www.carmah.berlin/ http://cerev.org/curatorialdreams/ http://capsl.cerev.ca/