การแบ่งเขตการปกครอง ของ ภาคใต้_(ประเทศไทย)

ภาคใต้ประกอบด้วย 14 จังหวัด ตามเกณฑ์ของราชบัณฑิตยสภา ดังนี้

ตราประจำ
จังหวัด
ชื่อจังหวัด
อักษรไทย
ชื่อจังหวัด
อักษรโรมัน
จำนวนประชากร
(คน)
พื้นที่
(ตร.กม.)
ความหนาแน่น
(คน/ตร.กม.)
กระบี่Krabi469,7694,708.51299.77
ชุมพรChumphon509,6506,010.84984.78
ตรังTrang643,0724,917.519130.77
นครศรีธรรมราชNakhon Si Thammarat1,557,4829,942.502156.64
นราธิวาสNarathiwat796,2394,475.430177.91
ปัตตานีPattani709,7961,940.356365.80
พังงาPhang Nga267,4914,170.89564.13
พัทลุงPhattalung524,8573,424.473153.26
ภูเก็ตPhuket402,017543.034740.31
ยะลาYala527,2954,521.078116.63
ระนองRanong190,3993,298.04557.72
สงขลาSongkhla1,424,2307,393.889192.62
สตูลSatun319,7002,478.977128.96
สุราษฎร์ธานีSurat Thani1,057,58112,891.46982.03

นอกจากนี้ ยังมีการแบ่งเป็นภูมิภาคย่อย ได้แก่ การแบ่งตามยุทธศาสตร์ แบ่งเป็น ภาคใต้ตอนบน และภาคใต้ตอนล่าง และการแบ่งตามอุตุนิยมวิทยา แบ่งเป็น ภาคใต้ตะวันออก หรือภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย และภาคใต้ตะวันตก หรือภาคใต้ฝั่งอันดามัน

แบ่งตามยุทธศาสตร์แบ่งตามอุตุนิยมวิทยา
ภาคใต้ตอนบนภาคใต้ตอนล่างภาคใต้ฝั่งตะวันออกภาคใต้ฝั่งตะวันตก
  1. จังหวัดกระบี่
  2. จังหวัดชุมพร
  3. จังหวัดนครศรีธรรมราช
  4. จังหวัดพังงา
  5. จังหวัดภูเก็ต
  6. จังหวัดระนอง
  7. จังหวัดสุราษฎร์ธานี
  1. จังหวัดตรัง
  2. จังหวัดนราธิวาส
  3. จังหวัดปัตตานี
  4. จังหวัดพัทลุง
  5. จังหวัดยะลา
  6. จังหวัดสตูล
  7. จังหวัดสงขลา
  1. จังหวัดชุมพร
  2. จังหวัดนครศรีธรรมราช
  3. จังหวัดนราธิวาส
  4. จังหวัดประจวบคีรีขันธ์[2]
  5. จังหวัดปัตตานี
  6. จังหวัดพัทลุง
  7. จังหวัดเพชรบุรี[2]
  8. จังหวัดสงขลา
  9. จังหวัดสุราษฎร์ธานี
  1. จังหวัดกระบี่
  2. จังหวัดตรัง
  3. จังหวัดพังงา
  4. จังหวัดภูเก็ต
  5. จังหวัดระนอง
  6. จังหวัดสตูล
  7. จังหวัดยะลา

ใกล้เคียง

ภาคใต้ (ประเทศไทย) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ประเทศไทย) ภาคตะวันออก (ประเทศไทย) ภาคตะวันตก (ประเทศไทย) ภาคตะนาวศรี ภาคตัดกรวย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (เวียดนาม) ภาคตะวันออกเฉียงใต้ (เวียดนาม) ภาคตะวันตกเฉียงเหนือ (เวียดนาม)