ภาวะเบสเกิน

ภาวะเบสเกิน, ภาวะเลือดเป็นเบส หรือ ภาวะร่างกายเป็นเบส (อังกฤษ: Alkalosis) เป็นผลจากการลดความเข้มข้นของไฮโดรเจนไอออนในพลาสมาเลือดในหลอดเลือดแดง (arterial blood plasma) หรือเรียกว่า ภาวะเลือดเป็นเบส (อัลคาลีเมีย; alkalemia) ในทางตรงกันข้ามกันกับเอซิดีเมีย (ภาวะเลือดเป็นกรด; acidemia) ซึ่งค่า pH ของเซรัมเลือดอยู่ที่ต่ำกว่า 7.35 ในขณะที่อัลคาลีเมียเกิดขึ้นเมื่อค่าพีเอชเซรัมเลือดสูงกว่าปกติ (สูงกว่า 7.45) ภาวะเลือดเป็นเบสมักแบ่งออกเป็นสองชนิดหลัก คือ ภาวะเลือดเป็นเบสจากการหายใจ (respiratory alkalosis) และ ภาวะเลือดเป็นเบสเมแทบอลิก (metabolic alkalosis) หรือเกิดขึ้นทั้งคู่พร้อม ๆ กัน[1]

ภาวะเบสเกิน

สาขาวิชา วิทยาต่อมไร้ท่อ
ชื่ออื่น ภาวะเลือดเป็นเบส, ภาวะร่างกายเป็นเบส

ใกล้เคียง

ภาวะเลือดจางเหตุขาดธาตุเหล็ก ภาวะเงินเฟ้อ ภาวะเสียการระลึกรู้ ภาวะเหล็กเกิน ภาวะเลือดจาง ภาวะเสียการระลึกรู้ทางตา ภาวะเงินฝืด ภาวะเพศกำกวม ภาวะเลือดเป็นกรดจากคีโตนจากเบาหวาน ภาวะเชิงการนับ