ระบบการเขียน ของ ภาษาเลอเวือะ

ตัวเขียนภาษาเลอเวือะตะวันตก (และตะวันออกบางส่วน) อักษรไทยตามที่คณะกรรมการจัดทำระบบเขียนภาษาท้องถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ด้วยอักษรไทย สำนักงานราชบัณฑิตยสภา ได้กำหนดไว้ มีดังนี้

พยัญชนะ
อักษรไทยเสียงตัวอย่างคำความหมาย
ป่าแป๋ละอูบ
/k/กักกิ่ง
บลัค้างคาว
/kʰ/ต้นไม้
/ᵑɡ/า-อืฮเม่น
/ŋ/ไฟ
โกลห้วย
'ง/ˀŋ/เ'งียงสั้น
ฮง/ʰŋ/~[ŋ̊]ฮงาะข้าวเปลือก
/c/จักวาง
โอ-อิหมด
/cʰ/ชือมจาน
/s/ซัช้าง
/ᶮɟ/ฌือมซึม
/ɲ/ญืขัด
บิโคลน
'ญ /ˀɲ/'ญืผิง (ไฟ)
ฮญ/ʰɲ/~[ɲ̊]ฮญื(หนัง) ย่น
/d/~[ɗ]ดึดึง
/t/ (เมื่อเป็นพยัญชนะท้าย)กัหนาม
/ⁿd/หม้อ
/t/ (เมื่อเป็นพยัญชนะต้น)เนื้อ
/tʰ/องย่าม
/n/คราม (พืช)
กวลูก
'น/ˀn/เ'หมวกชนิดหนึ่ง
ฮน/ʰn/~[n̥]ฮนัสร้อย
/b/~[ɓ]บักบ
/p/ (เมื่อเป็นพยัญชนะท้าย)อา-อุข้าวสุก
/ᵐb/บันได
/p/ (เมื่อเป็นพยัญชนะต้น)ปัขวด
/pʰ/พัล้าง (จาน)
/f/-อิจเสร็จ
/m/องรอคอย
ญึอร่อย
'ม/ˀm/'ไร่ข้าว
ฮม/ʰm/~[m̥]ฮมตอก
/j/ยือมร้องไห้
'ย/ˀj/'วงหมู่บ้าน
/r/~[ɾ]ดายหญ้า
ฮร/ʰr/~[r̥]~[ɾ̥]ฮรัเขี้ยว
รฺ/ɣ/รฺใหญ่
'รฺ/ˀɣ/'รฺองต้นเสา
ฮรฺ/ʰɣ/~[x]ฮฺรัเขี้ยว
/l/องะเล่น
'ล/ˀl/'ลัยาว
ฮล/ʰl/~[l̥]ฮลใบ
/w/~[v]วือกหนอน
/ʔ/ (เมื่อเป็นพยัญชนะต้น)พี่สาว
/h/ผึ้ง
ดอรั่ว
ไม่มีรูป/ʔ/ (เมื่อเป็นพยัญชนะท้าย)เญือะบ้าน
สระเดี่ยว
อักษรไทยเสียงตัวอย่างคำความหมาย
ป่าแป๋ละอูบ
–ะ/a/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) ปลา
–ั/a/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น) ยัง (ป่าแป๋)หลังคา
–า/a/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) ย่าง
–ิ/i/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย) ฆิสน (พืช)
ชิเปื่อย
–ี/i/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) ทีชัด
–ึ/ɨ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย) ฆึ (ป่าแป๋) ให้ราคาเพิ่ม
ลึดื้อ
–ือ/ɨ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) รือ (ละอูบ) กรงไก่,
ตี (กลอง)
–ุ/u/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย) ยุ (ป่าแป๋) ผ้าห่ม
ยุตาย
–ู/u/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) ปู (ละอูบ) หนา
เ–ะ/e/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) หอยเบี้ย
(แทนเงิน)
เ–/e/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย
หรือเมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น)
นกแก้ว
ตฮกาฝาก
แ–ะ/ɛ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) ขี้ขลาด
แ–/ɛ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย
หรือเมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น)
มะม่วง
ตบหมัด (แมลง)
โ–ะ/o/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) ต้นไม้
โ–/o/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย
หรือเมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น)
สันเขา
'มกกล้องสูบยา
เ–าะ/ɔ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) ฮงาะข้าวเปลือก
–อ/ɔ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย
หรือเมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น)
ไฟ
ปลหญ้าคา
เ–อะ/ə/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) อะคำลงท้าย
เพื่อยืนยัน
เ–อ/ə/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) จะ
เ–ิ/ə/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น) เคิขึง
สระประสม
อักษรไทยเสียงตัวอย่างคำความหมาย
ป่าแป๋ละอูบ
เ–ียะ/ia/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) 'ญียะนิดหน่อย
เ–ีย/ia/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย
หรือเมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น)
เตีย (ละอูบ) ดอก
'งียสั้น
เ–ือะ/ɨa/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) เฟือะลิง
เ–ือ/ɨa/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย
หรือเมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น)
เฟือคราด
ลือเลีย
–ัวะ/ua/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) อัวะคลื่นไส้
–ัว/ua/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) ปัวขอ (กริยา)
–ว–/ua/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น) ยก
สระเรียง
อักษรไทยเสียงตัวอย่างคำความหมาย
ป่าแป๋ละอูบ
–า-อิ/ai/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย
เป็นเสียงหยุด)
รฺา-อิบ (ป่าแป๋) หญ้า
–า-อี/ai/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น) ฆลา-อีกระดึง
–า-อึ/aɨ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย
เป็นเสียงหยุด)
อา-อึฉัน
า-อึเหน็บ (สิ่งของ)
–า-อือ/aɨ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) า-อือลม
–า-อื/aɨ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น) า-อืจมูก
–า-อุ/au/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย
เป็นเสียงหยุด)
า-อุข้าวสุก
–า-อู/au/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น) า-อูอาบน้ำ
–า-แอะ/aɛ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย
เป็น /ʔ/)
า-แอะซน
–า-แอ/aɛ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย
หรือเมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น)
ปลา-แอเหล้า
ฆยา-แอฮ (ป่าแป๋) นอกชาน
–า-เอาะ/aɔ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) า-เอาะผ้าพันไม้ตีข้าว
–า-ออ/aɔ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย
หรือเมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น)
า-ออสิบ
า-ออมะกอก
–ี-อู/iu/พี-อู(ลม) รั่ว
–ู-อิ/ui/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย
เป็นเสียงหยุด)
ฮู-อิ (ละอูบ) อุ๊ย
ปู-อิจ (ละอูบ) ยอดไม้
–ู-อี/ui/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) พู-อี (ป่าแป๋) คน
–ู-แอ/uɛ/ปู-แอรุ่งเช้า
เ–-โอ/eo/-โอเกี่ยวข้อง
แ–-ออ/ɛɔ/-ออแก้ว
โ–-อิ/oi/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย
เป็นเสียงหยุด)
บร-อิจ (ละอูบ) พริก
โ–-อี/oi/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) -อีเงียบ
–อ-อิ/ɔi/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย
เป็นเสียงหยุด)
อ-อิถึง
–อ-อี/ɔi/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น) 'มอ-อี(กิน) ไม่อิ่ม
–อ-แอ/ɔɛ/อ-แอริมฝีปาก
เ–อ-อิ/əi/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย
เป็นเสียงหยุด)
อ-อิฟืน, พระจันทร์
อ-อิหมู
เ–อ-อี/əi/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย
หรือเมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น)
อ-อีจุด (ตะเกียง)
อ-อีกลับ
เ–อ-อึ/əɨ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย
เป็นเสียงหยุด)
'มอ-อึครก
เ–อ-อื/əɨ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น) ครอ-อืง (ละอูบ) เสื้อผ้า
เ–อ-อุ/əu/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย
เป็นเสียงหยุด)
อ-อุวัว
เ–อ-อู/əu/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย
หรือเมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น)
อ-อูเดิน
อ-อูม (ป่าแป๋) ปักดำ

ส่วนตัวเขียนภาษาเลอเวือะตะวันออก ไม่ได้ถูกกำหนดไว้ จึงอนุโลมใช้กฎเดียวกับภาษาเลอเวือะตะวันตก แต่เนื่องจากหน่วยเสียงตามตารางด้านบนยังไม่ครบถ้วน จึงมีการดัดแปลงเพิ่มเติมดังต่อไปนี้

  1. สระเรียงอื่นที่นอกเหนือจากตารางด้านบน ให้แยกออกเป็นสระไทยสองเสียง คั่นด้วยขีด
    • หมายเหตุ /iə/ และ /uə/ เป็นสระคนละเสียงกับ /ia/ และ /ua/ ตามลำดับ
  2. พยัญชนะท้ายบางตัวต้องเปลี่ยนเป็นสระก่อน แล้วจึงค่อยใช้รูปสระเรียงต่อไป ดังนี้
    • /-j/ เปลี่ยนเป็น /-i/
    • /-jˀ/ เปลี่ยนเป็น /-iʔ/
    • /-j̊/ เปลี่ยนเป็น /-ih/
    • /-w/ เปลี่ยนเป็น /-u/
    • /-wˀ/ เปลี่ยนเป็น /-uʔ/
    • /-w̥/ เปลี่ยนเป็น /-uh/
  3. เพิ่มหน่วยเสียงพยัญชนะและสระดังนี้
    • ฌ ใช้แทนเสียง /ʄ/
    • เ–าฺะ ใช้แทนเสียง /ɒʔ/
    • –อฺ ใช้แทนเสียง /ɒ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย หรือเมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น)

ใกล้เคียง