การคำนวณ ของ มอดุลัสของยัง

มอดุลัสของสภาพยืดหยุ่น λ {\displaystyle \,\lambda \,} หาได้จากการหาร ค่าความเค้น ด้วย ค่าความเครียด

λ = s t r e s s s t r a i n = F / A x / l = F l A x {\displaystyle \lambda ={\frac {stress}{strain}}={\frac {F/A}{x/l}}={\frac {Fl}{Ax}}}

โดย (ในหน่วย SI)

λ {\displaystyle \,\lambda \,} คือ ค่ามอดุลัสของสภาพยืดหยุ่น ในหน่วย ปาสกาล

F {\displaystyle \,F\,} คือ แรง ในหน่วย นิวตัน

A {\displaystyle \,A\,} คือ พื้นที่หน้าตัดรับแรง ในหน่วย ตารางเมตร

x {\displaystyle \,x\,} คือ ส่วนที่ยืดออกของวัสดุ ในหน่วย เมตร

l {\displaystyle \,l\,} คือ ความยาวปกติของวัสดุ ในหน่วยเมตร


ความตึง

มอดุลัสของสภาพยืดหยุ่น ของวัสดุ สามารถใช้ในการคำนวณหาแรงตึง จากส่วนที่ยืดออกได้โดย

T = λ A x l {\displaystyle T={\frac {\lambda Ax}{l}}}

โดย

T {\displaystyle \,T\,} คือ แรงตึง ในหน่วย นิวตัน

พลังงานศักย์ของความยืดหยุ่น

พลังงานศักย์ของความยืดหยุ่น (en:elastic potential energy) หาได้จากการอินทิเกรต แรงตึงเทียบกับตัวแปร x {\displaystyle \,x\,} ได้พลังงงานสะสม E {\displaystyle \,E\,}

E = λ A x 2 2 l {\displaystyle E={\frac {\lambda Ax^{2}}{2l}}}

โดย

E {\displaystyle \,E\,} คือ พลังงานศักย์ของความยืดหยุ่น ในหน่วย จูล

บทความเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์นี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:วิทยาศาสตร์