ยุทธการที่วงรอบปูซาน

 สหประชาชาติ People's Army
People's Navy
People's Air Forceการรุกของเกาหลีเหนือ
Pokpoong · Chuncheon · Gorangpo · Kaesong-Munsan · Korea Strait · Ongjin · Uijeongbu · Suwon Airfield · การทัพทางอากาศ · อันดง · Chumonchin Chan · Osan · Pyongtaek · Chonan · Chochiwon · แทจ็อน · Sangju · Yongdong · Hwanggan · Hadong · Notch · วงรอบปูซานการตีโต้ตอบของกองบัญชาการสหประชาชาติ
แฮจู · อินชอน · กรุงโซลครั้งที่ 2 · เนิน 282 · 12 ตุลาคม 1950 · แกซอง  · วอนซาน  · Heungham  · ยงจู · ยองฮุง  · คุมชอน  · เปียงยาง  · Huicheon  · โชซาน การเข้าแทรกแซงของจีน
อนจง · อุนซาน · Pakchon · Ch'ongch'on River · Wawon · Chosin Reservoir · Task Force Faith · กรุงโซลครั้งที่ 3 · 1st and 2nd Wonju · Thunderbolt · Twin Tunnels · Roundup · Hoengsong · Chipyong-ni  · 3rd Wonju · Killer · Ripper · Courageous  · Tomahawk · Rugged and Dauntless · กรุงโซลครั้งที่ 5 (แม่น้ำอิมจิน · สะพานยุลตง · Gapyong) · Soyang Riverช่วงคุมเชิง
Bloody Ridge · แม่น้ำฮัน · Heartbreak Ridge · มาร์ยางซาน · Sunchon · Hill Eerie · เขื่อนซุยโฮ · Old Baldy · Hudson Harbor · ม้าขาว · เนินสามเหลี่ยม · Jackson Heights · The Hook · เนินพอร์คช็อป · Outpost Harry  · กุมซง · แม่น้ำซามิชอนช่วงหลังการหยุดยิง
ความขัดแย้งเขตปลอดทหาร · การตีโฉบฉวยทำเนียบน้ำเงิน · กรณีอีซี-121 · Major Henderson incident · Axe murder incident · เหตุระเบิดที่ย่างกุ้ง · KAL Flight 858 · Gangneung · Yosu · 1st Yeonpyeong · Amami-Ōshima · 2nd Yeonpyeong · Daecheong · ROKS Cheonan · 3rd Yeonpyeong · วิกฤตการณ์เกาหลีเหนือยุทธการที่วงรอบปูซาน เป็นการสู้รบขนาดใหญ่ระหว่างกองทัพของกองบัญชาการสหประชาชาติ(UN Command)และกองทัพเกาหลีเหนือที่ยืดเยื้อเป็นเวลานาน นับตั้งแต่วันที่ 4 สิงหาคม ถึง 18 กันยายน ค.ศ. 1950 มันเป็นหนึ่งในการสู้รบที่สำคัญเป็นครั้งแรกของสงครามเกาหลี กองทัพทหารบกยูเอ็นกว่า 140,000 นายที่หลังจากถูกผลักดันจนเกือบจะพ่ายแพ้ ได้รวมตัวกันเพื่อทำการสู้รบตั้งรับครั้งสุดท้ายกับการรุกรานของกองทัพประชาชนเกาหลี จำนวน 98,000 นายที่แข็งแกร่งกว่ากองทัพยูเอ็น,ได้พ่ายแพ้ซ้ำแล้วซ้ำเล่าโดยการรุกของกองทัพประชาชนเกาหลี ได้ถูกบีบบังคับให้ล่าถอยไปยัง"วงรอบปูซาน" แนวป้องกันระยะทาง 140 ไมล์(230 กิโลเมตร)บริเวณรอบพื้นที่ทางปลายสุดด้านตะวันออกเฉียงใต้ของเกาหลีใต้ซึ่งรวมถึงท่าเรือพูซัน กองกำลังทหารยูเอ็นซึ่งประกอบด้วยกองทัพส่วนใหญ่จากสาธารณรัฐเกาหลี สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักรที่ได้ตั้งฐานทัพแห่งสุดท้ายบริเวณวงรอบ ได้ต่อสู้รบกับการโจมตีอย่างต่อเนื่องของกองทัพประชาชนเกาหลีเป็นเวลาหกสัปดาห์ ในขณะที่พวกเขาได้สู้รบกันบริเวณรอบๆเมืองแทกู, มาซัน(Masan) โปฮัง(Pohang)และแม่น้ำนักดง(Nakdong River) การโจมตีครั้งใหญ่ของกองทัพประชาชนเกาหลีไม่ประสบความสำเร็จในการบีบบังคับกองกำลังทหารยูเอ็นให้ล่าถอยห่างจากเส้นวงรอบ แม้ว่าจะมีการผลักดันครั้งใหญ่สองครั้งในเดือนสิงหาคมและกันยายน กองกำลังทหารเกาหลีเหนือได้หยุดชะงักจากความขาดแคลนปัจจัยและความสูญเสียครั้งใหญ่ ทำให้เกิดการโจมตีอย่างต่อเนื่องของกองทัพยูเอ็นในความพยายามที่จะเจาะทะลวงเส้นวงรอบและทะลายแนว อย่างไรก็ตาม, สหประชาชาติได้ใช้ท่าเรือนี้เพื่อสร้างความได้เปรียบอย่างล้นหลามในกองกำลังทหาร อุปกรณ์ และโลจิสิกส์ และกองทัพเรือและกองทัพอากาศที่เหลืออยู่ไม่ได้ถูกขัดขวางโดยกองทัพประชาชนเกาหลีในช่วงระหว่างการรบ ภายหลังหกสัปดาห์ กองทัพประชาชนเกาหลีได้พังทะลายและล่าถอยในความพ่ายแพ้หลังกองทัพยูเอ็นได้เปิดฉากการโจมตีตอบโต้กลับที่อินช็อน เมื่อวันที่ 15 กันยายน และกองทัพยูเอ็นที่อยู่ในวงรอบได้บุกทะลวงจากวงรอบในวันต่อมา การรบครั้งนี้เป็นการรุกของกองทัพประชาชนเกาหลีที่ไปได้ไกลกว่า เช่นเดียวกับผลลัพธ์ของการสู้รบในสงครามกลายเป็นทางตัน

ยุทธการที่วงรอบปูซาน

วันที่สถานที่ผล
วันที่4 สิงหาคม - 18 กัยยายน ค.ศ. 1950
สถานที่ปูซาน, เกาหลีใต้
ผลสหประชาชาติชนะ
ผล สหประชาชาติชนะ
สถานที่ ปูซาน, เกาหลีใต้
วันที่ 4 สิงหาคม - 18 กัยยายน ค.ศ. 1950

ใกล้เคียง

ยุทธการที่เดียนเบียนฟู ยุทธการที่เซกิงาฮาระ ยุทธการที่มอสโก ยุทธการที่เซี่ยงไฮ้ ยุทธการที่อิเหลง ยุทธการที่สตาลินกราด ยุทธการที่ฝรั่งเศส ยุทธการที่โอกินาวะ ยุทธการที่เทอร์มอพิลี ยุทธการที่วอเตอร์ลู