กายวิภาค ของ รอยนูนแองกูลาร์

รอยนูนแองกูลาร์ในซีกสมองซ้ายและขวามีการเชื่อมต่อกันโดย corpus collosum ส่วน splenium ด้านหลัง และส่วน isthmus[2] รอยนูนทั้งสองซีกอยู่ในระหว่างกลีบสมองทั้งสี่ (คือสมองกลีบท้ายทอย สมองกลีบข้าง สมองกลีบหน้า และสมองกลีบขมับ)

การเชื่อมต่อของรอยนูนแองกูลาร์
เชื่อมต่อไปยังโดยวิถีประสาท
สมองกลีบหน้าซีกเดียวกัน สมองกลีบหน้าส่วนหน้า และสมองกลีบหน้าด้านล่างsuperior longitudinal fasciculus.[3]
นิวเคลียสมีหางinferior occipitofrontal fasciculus[4]
รอยนูนรอบฮิปโปแคมปัส[5] และ ฮิปโปแคมปัส[4]inferior longitudinal fasciculus
precuneus และ รอยนูนสมองกลีบหน้าส่วนบน (superior frontal gyrus)occipitofrontal fasciculus,[6]
Supramarginal gyruslocal arcuate[7]

ใกล้เคียง

รอยนูนสมองกลีบขมับด้านล่าง รอยนูนหลังร่องกลาง รอยนูนแองกูลาร์ รอยนูนรอบฮิปโปแคมปัส รอยนูนรูปกระสวย รอยนูนสมองกลีบขมับส่วนบน รอยนูนหน้าส่วนบน รอยนูนซูปรามาร์จินัล รอยนูนสมองกลีบขมับตามขวาง รอยขูดขีดเขียน

แหล่งที่มา

WikiPedia: รอยนูนแองกูลาร์ http://www.unifr.ch/ifaa/Public/EntryPage/TA98%20T... http://blog.bioscience-writer.com/2012/02/22/metap... http://www.nytimes.com/2006/10/03/health/psycholog... http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S... http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S... http://www.ted.com/talks/vilayanur_ramachandran_on... http://fme.biostr.washington.edu/FME/index.jsp?fma... http://braininfo.rprc.washington.edu/centraldirect... //dx.doi.org/10.1126%2Fscience.284.5416.970 http://www.neurolex.org/wiki/birnlex_1376