การปรับจูน ของ ระบบควบคุมพีไอดี

การปรับจูนด้วยมือ

ถ้าระบบยังคงทำงาน ขั้นแรกให้ตั้งค่า K i {\displaystyle K_{i}} และ K d {\displaystyle K_{d}} เป็นศูนย์ เพิ่มค่า K p {\displaystyle K_{p}} จนกระทั่งสัญญาณขาออกเกิดการแกว่ง (oscillate) แล้วตั้งค่า K p {\displaystyle K_{p}} ให้เหลือครึ่งหนึ่งของค่าที่ทำให้เกิดการแกว่งสำหรับการตอบสนองชนิด "quarter amplitude decay" แล้วเพิ่ม K i {\displaystyle K_{i}} จนกระทั่งออฟเซตถูกต้องในเวลาที่พอเพียงของกระบวนการ แต่ถ้า K i {\displaystyle K_{i}} มากไปจะทำให้ไม่เสถียร สุดท้ายถ้าต้องการ ให้เพิ่มค่า K d {\displaystyle K_{d}} จนกระทั่งลูปอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ แต่ถ้า K d {\displaystyle K_{d}} มากเกินไปจะเป็นเหตุให้การตอบสนองและโอเวอร์ชูตเกินยอมรับได้ ปกติการปรับจูน PID ถ้าเกิดโอเวอร์ชูตเล็กน้อยจะช่วยให้เข้าสู่จุดที่ต้องการเร็วขึ้น แต่ในบางระบบไม่สามารถยอมให้เกิดโอเวอร์ชูตได้ และถ้าค่า K p {\displaystyle K_{p}} น้อยเกินไปก็จะทำให้เกิดการแกว่ง

ผลของการเพิ่มค่าตัวแปรอย่างอิสระ
ตัวแปรช่วงเวลาขึ้น
(Rise time)
โอเวอร์ชูต
(Overshoot)
เวลาสู่สมดุล
(Settling time)
ความผิดพลาดสถานะคงตัว
(Steady-state error)
เสถียรภาพ[1]
K p {\displaystyle K_{p}} ลดเพิ่มเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยลดลด
K i {\displaystyle K_{i}} ลด[2]เพิ่มเพิ่มลดลงอย่างมีนัยสำคัญลด
K d {\displaystyle K_{d}} ลดลงเล็กน้อยลดลงเล็กน้อยลดลงเล็กน้อยตามทฤษฏีไม่มีผลดีขึ้นถ้า K d {\displaystyle K_{d}} มีค่าน้อย

วิธีการ

วิธีการนี้นำเสนอโดย John G. Ziegler และ Nathaniel B. Nichols ในคริสต์ทศวรรษที่ 1940 ขั้นแรกให้ตั้งค่า K i {\displaystyle K_{i}} และ K d {\displaystyle K_{d}} เป็นศูนย์ เพิ่มอัตราขยาย P สูงที่สุด, K u {\displaystyle K_{u}} , จนกระทั่งเริ่มเกิดการแกว่ง นำค่า K u {\displaystyle K_{u}} และค่าช่วงการแกว่ง P u {\displaystyle P_{u}} มาหาค่าตัวแปรที่เหลือดังตาราง:

Ziegler–Nichols method
Control Type K p {\displaystyle K_{p}} K i {\displaystyle K_{i}} K d {\displaystyle K_{d}}
P 0.50 K u {\displaystyle 0.50{K_{u}}} --
PI 0.45 K u {\displaystyle 0.45{K_{u}}} 1.2 K p / P u {\displaystyle 1.2{K_{p}}/P_{u}} -
PID 0.60 K u {\displaystyle 0.60{K_{u}}} 2 K p / P u {\displaystyle 2{K_{p}}/P_{u}} K p P u / 8 {\displaystyle {K_{p}}{P_{u}}/8}

ใกล้เคียง

ระบบควบคุมพีไอดี ระบบคลังข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพทั่วโลก ระบบคะแนนเสียงเผื่อเลือกเพิ่ม ระบบคุณธรรม ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมมิวนิสต์ ระบบคัดเลือกเข้าอุดมศึกษา ระบบความรู้สึก ระบบควบคุม ระบบความรู้สึกทางกาย

แหล่งที่มา

WikiPedia: ระบบควบคุมพีไอดี http://asl.epfl.ch/research/projects/VtolIndoorFly... http://www.controleng.com/article/CA307745.html http://www.controlguru.com/pages/table.html http://www.elecdesign.com/Articles/ArticleID/6131/... http://www.embedded.com/2000/0010/0010feat3.htm http://www.embedded.com/story/OEG20020726S0044 http://www.pidlab.com http://www.pidlab.com/en/pid-design-and-tuning http://www.engin.umich.edu/group/ctm/PID/PID.html http://www.engin.umich.edu/group/ctm/examples/pend...