ตัวอย่าง ของ ระยะทางจาโร-วิงเคลอร์

ให้ m {\displaystyle m} แทนความยาวของสายอักขระ MARTHA และ n {\displaystyle n} แทนความยาวของสายอักขระ MARHTA จะได้

  • c = 6 {\displaystyle c=6}
  • m = 6 {\displaystyle m=6}
  • n = 6 {\displaystyle n=6}
  • คู่ของตัวอักษรที่ตรงกัน (M, A, R, T, H, A) (M, A, R, H, T, A)

อักษรที่ตรงกัน 6 ตัว มีอักษรสองตัวที่ไม่ได้เรียงกันตามลำดับ คืออักษรตำแหน่งที่ 4 และ 5 ดังนั้น t = 2 2 = 1 {\displaystyle t={\frac {2}{2}}=1}

จะได้ค่าระยะทางจาโร

d j = 1 3 ( 6 6 + 6 6 + 6 − 1 6 ) = 0.944 {\displaystyle d_{j}={\frac {1}{3}}\left({\frac {6}{6}}+{\frac {6}{6}}+{\frac {6-1}{6}}\right)=0.944}

มี 3 อักขระแรกที่เข้ากันคือ (M, A, R) ดังนั้น ℓ = 3 {\displaystyle \ell =3}

จะได้ค่าระยะทางจาโร-วิงเคลอร์

d w = 0.944 + ( 3 10 ( 1 − 0.944 ) ) = 0.961 {\displaystyle d_{w}=0.944+({\frac {3}{10}}(1-0.944))=0.961}


ให้ m {\displaystyle m} แทนความยาวของสายอักขระ JONES และ n {\displaystyle n} แทนความยาวของสายอักขระ JOHNSON จะได้

  • c = 4 {\displaystyle c=4}
  • m = 5 {\displaystyle m=5}
  • n = 7 {\displaystyle n=7}
  • คู่ของตัวอักษรที่ตรงกัน (J, O, N, S) (J, O, N, S)

อักษรที่ตรงกันทั้ง 4 ตัว มีตำแหน่งเรียงกันตามลำดับเหมือนกันทั้งสองสายอักขระ ดังนั้น t = 0 {\displaystyle t=0}

จะได้ค่าระยะทางจาโร

d j = 1 3 ( 4 5 + 4 6 + 4 − 0 4 ) = 0.790 {\displaystyle d_{j}={\frac {1}{3}}\left({\frac {4}{5}}+{\frac {4}{6}}+{\frac {4-0}{4}}\right)=0.790}

มี 2 อักขระแรกที่เข้ากันคือ (J, O) ดังนั้น ℓ = 2 {\displaystyle \ell =2}

จะได้ค่าระยะทางจาโร-วิงเคลอร์

d w = 0.790 + ( 2 10 ( 1 − 0.790 ) ) = 0.832 {\displaystyle d_{w}=0.790+({\frac {2}{10}}(1-0.790))=0.832}


ให้ m {\displaystyle m} แทนความยาวของสายอักขระ DWAYNE และ n {\displaystyle n} แทนความยาวของสายอักขระ DUANE จะได้

  • c = 4 {\displaystyle c=4}
  • m = 6 {\displaystyle m=6}
  • n = 5 {\displaystyle n=5}
  • คู่ของตัวอักษรที่ตรงกัน (D, A, N, E) (D, A, N, E)

อักษรที่ตรงกันทั้ง 4 ตัว มีตำแหน่งเรียงกันตามลำดับเหมือนกันทั้งสองสายอักขระ ดังนั้น t = 0 {\displaystyle t=0}

จะได้ค่าระยะทางจาโร

d j = 1 3 ( 4 6 + 4 5 + 4 − 0 4 ) = 0.822 {\displaystyle d_{j}={\frac {1}{3}}\left({\frac {4}{6}}+{\frac {4}{5}}+{\frac {4-0}{4}}\right)=0.822}

มีเพียงอักขระแรกที่เข้ากัน คือ (D) ดังนั้น ℓ = 1 {\displaystyle \ell =1}

จะได้ค่าระยะทางจาโร-วิงเคลอร์

d w = 0.822 + ( 1 10 ( 1 − 0.822 ) ) = 0.84 {\displaystyle d_{w}=0.822+({\frac {1}{10}}(1-0.822))=0.84}


ให้ m {\displaystyle m} แทนความยาวของสายอักขระ DIXON และ n {\displaystyle n} แทนความยาวของสายอักขระ DICKSONX จะได้

  • r = ⌊ 8 2 ⌋ − 1 = 3 {\displaystyle r=\left\lfloor {\frac {8}{2}}\right\rfloor -1=3}
  • c = 4 {\displaystyle c=4}
  • m = 5 {\displaystyle m=5}
  • n = 8 {\displaystyle n=8}
  • คู่ของตัวอักษรที่ตรงกัน (D, I, O, N) (D, I, O, N)

อักษรที่ตรงกันทั้ง 4 ตัว มีตำแหน่งเรียงกันตามลำดับเหมือนกันทั้งสองสายอักขระ ดังนั้น t = 0 {\displaystyle t=0} สำหรับอักษร X ในสายอักขระไม่นำมาพิจาณา เนื่องจากระยะห่างของ X ระหว่างสายอักขระสองสายมีค่าเกิน r

จะได้ค่าระยะทางจาโร

d j = 1 3 ( 4 5 + 4 8 + 4 − 0 4 ) = 0.767 {\displaystyle d_{j}={\frac {1}{3}}\left({\frac {4}{5}}+{\frac {4}{8}}+{\frac {4-0}{4}}\right)=0.767}

มี 2 อักขระแรกที่เข้ากันคือ (D, I) ดังนั้น ℓ = 2 {\displaystyle \ell =2}

จะได้ค่าระยะทางจาโร-วิงเคลอร์

d w = 0.767 + ( 2 10 ( 1 − 0.767 ) ) = 0.813 {\displaystyle d_{w}=0.767+({\frac {2}{10}}(1-0.767))=0.813}

ใกล้เคียง

ระยะทางแฮมมิง ระยะทาง ระยะทางเลเวนชเตย์น ระยะทางจาโร-วิงเคลอร์ ระยะทางพิสูจน์รัก (ภาพยนตร์) ระยะทางพิสูจน์รัก (นวนิยาย) ระยะทางแบบยุคลิด ระยะทดลองทางคลินิก ระยะทางโคจร ระยะฟัก