สุริยุปราคาวงแหวน ของ รายการสุริยุปราคาที่มองเห็นได้จากประเทศไทย

ในช่วงระยะเวลา 400 ปี พื้นที่ที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน มีแนวคราสวงแหวนของสุริยุปราคาวงแหวนพาดผ่าน 21 ครั้ง แบ่งเป็น

พ.ศ. 2300 ถึง 2400

ในช่วง พ.ศ. 2300 ถึง 2400 มีแนวคราสวงแหวนพาดผ่านพื้นที่ของประเทศไทยจำนวนทั้งหมด 5 ครั้ง ได้แก่

ครั้งที่วันที่และแผนที่แซรอสหมายเหตุอ้างอิง
16 กันยายน 2317
131แนวคราสวงแหวนพาดผ่านตอนบนของบริเวณที่เป็นจังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ และแม่ฮ่องสอนในปัจจุบัน[12]
25 สิงหาคม 2328
132แนวคราสวงแหวนพาดผ่านส่วนใหญ่ของจังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงราย พะเยา น่าน และตอนบนของแพร่ในปัจจุบัน[13]
316 พฤษภาคม 2360
125แนวคราสวงแหวนพาดผ่านตอนกลางของประเทศไทย[14]
49 ตุลาคม 2390
141แนวคราสวงแหวนพาดผ่านส่วนใหญ่ของภาคเหนือ ภาคกลางตอนบน และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย[15]
518 กันยายน 2400
132แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบางส่วนของบริเวณที่เป็นจังหวัดเพชรบุรีและประจวบคีรีขันธ์ในปัจจุบัน[16]

พ.ศ. 2401 ถึง 2500

ในช่วง พ.ศ. 2401 ถึง 2500 มีแนวคราสวงแหวนพาดผ่านพื้นที่ของประเทศไทยจำนวนทั้งหมด 7 ครั้ง ได้แก่

ครั้งที่วันที่และแผนที่แซรอสหมายเหตุอ้างอิง
18 กรกฎาคม 2404
134แนวคราสวงแหวนพาดผ่านตอนล่างสุดของบริเวณที่เป็นจังหวัดยะลาและนราธิวาสในปัจจุบัน[17]
211 พฤศจิกายน 2444
141แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณมณฑลราชบุรี มณฑลชุมพร มณฑลภูเก็ต และมณฑลจันทบุรี (จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง ตราด บางส่วนของสุราษฎร์ธานี พังงา ชลบุรี ระยองและจันทบุรีในปัจจุบัน)[18]
317 มีนาคม 2447
128แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณมณฑลชุมพร มณฑลภูเก็ต มณฑลนครศรีธรรมราช และปลายใต้สุดของมณฑลจันทบุรี (จังหวัดสุราษฎร์ธานี พังงา ภูเก็ต กระบี่ นครราขสีมา บางส่วนของจังหวัดชุมพร ระนอง ตรัง พัทลุง และตราดในปัจจุบัน)[19]
421 สิงหาคม 2476
134แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณจังหวัดเพชรบุรี ด้านตะวันตกเฉียงใต้ของราชบุรี และตอนบนของประจวบคีรีขันธ์[20]
520 กรกฎาคม 2487
135แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณจังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แพร่ น่าน อุตรดิตถ์ พิษณุโลก เลย หนองบัวลำภู อุดรธานี กาฬลินธุ์ มุกดาหาร ตอนล่างของสกลนคร นครพนม หนองคาย ตอนเหนือของขอนแก่น ร้อยเอ็ด ยโสธร อำนาจเจริญ และอุบลราชธานี[21]
69 พฤษภาคม 2491
137แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณจังหวัดเพชรบุรี สมุทรสงคราม ราชบุรี สมุทรสาคร กรุงเทพมหานครและปริมณฑล นครนายก นครราชสีมา บุรีรัมย์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ มุกดาหาร และนครพนม[22]
714 ธันวาคม 2498
141แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณจังหวัดชุมพร(ตอนบน) ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี ราชบุรี กาญจนบุรี (ตอนล่าง) สุพรรณบุรี นครปฐม สมุทรสงคราม กรุงเทพมหานครและปริมณฑล พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี ลพบุรี สระบุรี นครนายก ฉะเชิงเทรา(ตอนบน) ปราจีนบุรี นครราชสีมา ชัยภูมิ(ตอนล่าง) บุรีรัมย์(ส่วนใหญ่) สุรินทร์(ตอนบน) ขอนแก่น(ตอนล่าง) มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์(ตอนล่าง) ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร สกลนคร(ตอนล่าง) นครพนม(ตอนล่าง) ศรีสะเกษ(ตอนบน) และอุบลราชธานี(ตอนบน)[23]

พ.ศ. 2501 ถึง 2600

ในช่วง พ.ศ. 2501 ถึง 2600 มีแนวคราสวงแหวนพาดผ่านพื้นที่ของประเทศไทยจำนวนทั้งหมด 4 ครั้ง ได้แก่

ครั้งที่วันที่และแผนที่แซรอสหมายเหตุอ้างอิง
119 เมษายน 2501
128แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณจังหวัดชุมพร ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี ราชบุรี สมุทรสงคราม กรุงเทพมหานครและปริมณฑล พระนครศรีอยุธยา สระบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ปราจีนบุรี นครนายก สระแก้ว นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร ศรีสะเกษ และอุบลราชธานี[24]
223 พฤษจิกายน 2508
132แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณจังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แพร่ อุตรดิตถ์ สุโขทัย พิษณุโลก เลย เพชรบูรณ์ ชัยภูมิ ขอนแก่น นครราชสีมา มหาสารคาม บุรีรัมย์ สุรินทร์ และศรีสะเกษ[25]
321 พฤษภาคม 2574
138แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณจังหวัดสตูล สงขลา ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส[26]
414 ตุลาคม 2585
144แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณจังหวัดภูเก็ต พังงา กระบี่ สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง สงขลา สตูล ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส[27]

พ.ศ. 2601 ถึง 2700

ในช่วง พ.ศ. 2601 ถึง 2700 มีแนวคราสวงแหวนพาดผ่านพื้นที่ของประเทศไทยจำนวนทั้งหมด 5 ครั้ง ได้แก่

ครั้งที่วันที่และแผนที่แซรอสหมายเหตุอ้างอิง
127 มกราคม 2617
132แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณจังหวัดตาก กำแพงเพชร สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ์ เลย หนองบัวลำภู อุดรธานี หนองคาย และบึงกาฬ[28]
224 กรกฎาคม 2617
137แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณจังหวัดระนอง พังงา และสุราษฎร์ธานี[29]
329 ธันวาคม 2646
143แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณจังหวัดกระบี่ ตรัง และนครศรีธรรมราช[30]
429 ธันวาคม 2656
134แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณจังหวัดตาก กำแพงเพชร นครสวรรค์ อุทัยธานี สุโขทัย เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง จากนั้นแนวคราสจะพ้นจากพื้นผิวโลกไปบริเวณจังหวัดแพร่ อุตรดิตถ์ พิษณุโลก และพิจิตร[31]
526 สิงหาคม 2690147แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี และนครศรีธรรมราช[32]

ใกล้เคียง

รายการรหัสไปรษณีย์ไทย รายการเส้นทางเดินรถโดยสารประจำทางในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล รายการธงประจำจังหวัดของไทย รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 รายการสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ รายการสุริยุปราคาที่มองเห็นได้จากประเทศไทย รายการธงในประเทศไทย รายการอุบัติเหตุทางรถไฟในประเทศไทย รายการประกวดความงาม รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 2

แหล่งที่มา

WikiPedia: รายการสุริยุปราคาที่มองเห็นได้จากประเทศไทย https://eclipse.gsfc.nasa.gov/SEcat5/SE1701-1800.h... https://eclipse.gsfc.nasa.gov/SEcat5/SE1801-1900.h... https://eclipse.gsfc.nasa.gov/SEcat5/SE1901-2000.h... https://eclipse.gsfc.nasa.gov/SEcat5/SE2001-2100.h... https://eclipse.gsfc.nasa.gov/SEcat5/SE2101-2200.h... https://eclipse.gsfc.nasa.gov/SEsearch/SEsearchmap... https://eclipse.gsfc.nasa.gov/SEsearch/SEsearchmap... https://eclipse.gsfc.nasa.gov/SEsearch/SEsearchmap... https://eclipse.gsfc.nasa.gov/SEsearch/SEsearchmap... https://eclipse.gsfc.nasa.gov/SEsearch/SEsearchmap...