ราชวงศ์เหวียน ของ รายพระนามจักรพรรดิเวียดนาม

ราชวงศ์เหงียน (Nhà Nguyễn: ค.ศ. 1802-1945) เป็นราชวงศ์สุดท้ายของจักรวรรดิราชวงศ์เหวียน ก่อนถูกผนวกเข้าอินโดจีนของฝรั่งเศส

จักรพรรดิราชวงศ์เหงียน ( ค.ศ. 1802 – ค.ศ. 1945)
พระบรมฉายาลักษณ์พระนามแต่งตั้งพระนามเรียกขาน
(อักษรจีน–
อักษรโรมัน)
พระนามเดิมความสัมพันธ์กับรัชกาลก่อนพระชนม์ชีพรัชศกการสิ้นสุดรัชกาลหมายเหตุ
เท้ โต๋
世祖
Thế Tổ
กาว ฮหว่าง เด๊
高皇帝
Cao hoàng đế
เหงียน ฟุก อั๊ญ
阮福暎
Nguyễn Phước Ánh
ขุนศึกเหงียนค.ศ. 1762ค.ศ. 1820ยา ล็อง
嘉隆
ค.ศ. 1802ค.ศ. 1820
เสด็จสวรรคตทรงรวบรวมประเทศได้และก่อตั้งราชวงศ์สุดท้ายของเวียดนามและเป็นผู้ตั้งชื่อประเทศว่าเวียดนาม
ทั้ญ โต๋
聖祖
Thánh Tổ
เญิน ฮหว่าง เด๊
仁皇帝
Nhơn hoàng đế
เหงียน ฟุก เกี๋ยว
阮福晈
Nguyễn Phước Kiểu
พระราชโอรสค.ศ. 1791ค.ศ. 1841มิญ หมั่ง
明命
ค.ศ. 1820ค.ศ. 1841
เสด็จสวรรคตรวมอาณาจักรจามปาได้และเปลี่ยนชื่อประเทศเป็นดั่ยนาม
เฮี้ยน โต๋
憲祖
Hiến Tổ
เจือง ฮหว่าง เด๊
章皇帝
Chương Hoàng Đế
เหงียน ฟุก เตวี่ยน
阮福暶
Nguyễn Phước Tuyền
พระราชโอรสค.ศ. 1807ค.ศ. 1847เถี่ยว จิ
紹治
ค.ศ. 1841ค.ศ. 1847
เสด็จสวรรคต
ดึ๊ก ตง
翼宗
Dực Tông
อัญ ฮหว่าง เด๊
英皇帝
Anh hoàng đế
เหงียน ฟุก ถี่
阮福時
Nguyễn Phước Thì
พระราชโอรสค.ศ. 1829ค.ศ. 1883ตึ ดึ๊ก
嗣德
ค.ศ. 1847ค.ศ. 1883
เสด็จสวรรคตเผชิญหน้ากับฝรั่งเศสและต้องยกโคชินไชนาให้กับฝรั่งเศส
กุง ตง
恭宗
Cung Tông
ฮเหวะ ฮหว่าง เด๊
惠皇帝
Huệ hoàng đế
เหงียน ฟุก อึง เจิน
阮福膺禛
Nguyễn Phước Ưng Chân
พระราชภาติยะ[1]ค.ศ. 1852ค.ศ. 1883หยุก ดึ๊ก
育德
ค.ศ. 1883
ถูกบังคับสละราชสมบัติเป็นจักรพรรดิได้เพียงสามวัน
เหงียน ฟุก ทัง
阮福昇
Nguyễn Phước Thăng
พระปิตุลา (พระราชโอรสของจักรพรรดิเทียวจิ)ค.ศ. 1847ค.ศ. 1883เหียป ฮหว่า
協和
ค.ศ. 1883
กระทำอัตวินิบาตกรรมจนเสด็จสวรรคตเสียเอกราชให้แก่ฝรั่งเศสในรัชกาลนี้ หลังจากเกิดการลงนามในสนธิสัญญาเมืองเว้(ค.ศ. 1883)
สาน ตง
簡宗
Giản Tông
หงิ ฮหว่าง เด๊
毅皇帝
Nghị hoàng đế
เหงียน ฟุก เหา
阮福昊
Nguyễn Phước Hạo
พระภาติยะ(พระโอรสของพระเชษฐาของจักรพรรดิเหียป ฮหว่า)ค.ศ. 1869ค.ศ. 1884เกี๊ยน ฟุก
建福
ค.ศ. 1883ค.ศ. 1884
ถูกลอบปลงพระชนม์จนเสด็จสวรรคตเป็นจักรพรรดิที่ครองราชย์เพียงแค่ 4 เดือนท่ามกลางความวุ่นวายสับสน
เหงียน ฟุก มิญ
阮福明
Nguyễn Phước Minh
พระเชษฐาค.ศ. 1872ค.ศ. 1943ห่าม งี
咸宜
ค.ศ. 1884ค.ศ. 1885
ถูกบังคับสละราชสมบัติถูกขับออกจากราชสมบัติเพราะความล้มเหลวของอุบายประตูตะวันตกและพยายามก่อกบฏอีกแต่ถูกจับกุมในปี 1888 และถูกเนรเทศไปยังแอลจีเรีย
กั๋ญ ตง
景宗
Cảnh Tông
ถ่วน ฮหว่าง เด๊
純皇帝
Thuần Hoàng Đế
เหงียน ฟุก เบี่ยน
阮福昪
Nguyễn Phước Biện
พระเชษฐาค.ศ. 1864ค.ศ. 1889ด่ง คั้ญ
同慶
ค.ศ. 1885ค.ศ. 1889
เสด็จสวรรคตนิยมตะวันตก
เหงียน ฟุก เจียว
阮福昭
Nguyễn Phúc Chiêu
พระญาติ (พระราชโอรสของจักรพรรดิหยุก ดึ๊ก)ค.ศ. 1879ค.ศ. 1954ถั่ญ ท้าย
成泰
ค.ศ. 1889ค.ศ. 1907
ถูกบังคับสละราชสมบัติ
เหงียน ฟุก ฮหวาง
阮福晃
Nguyễn Phước Hoảng
พระราชโอรสค.ศ. 1900ค.ศ. 1945ซวี เติน
維新
ค.ศ. 1907ค.ศ. 1916
ถูกบังคับสละราชสมบัติ
ฮหวั่ง ตง
弘宗
Hoằng Tông
เตวียน ฮหว่าง เด๊
宣皇帝
Tuyên Hoàng Đế
เหงียน ฟุก ต๊วน
阮福昶
Nguyễn Phước Tuấn
พระญาติ (พระราชโอรสของจักรพรรดิด่ง คั้ญ)ค.ศ. 1885ค.ศ. 1925ขาย ดิ่ญ
啟定
ค.ศ. 1916ค.ศ. 1925
เสด็จสวรรคตมีความสัมพันธ์อันดีกับฝรั่งเศสและเป็นหุ่นเชิดทางการเมืองให้ฝรั่งเศส พระองค์ไม่เป็นที่นิยมของประชาชนเวียดนาม ผู้นำชาตินิยมกล่าวหาพระองค์ว่าขายชาติให้กับฝรั่งเศสและใช้ชีวิตอย่างหรูหราขณะที่ประชาชนถูกฝรั่งเศสกดขี่
เหงียน ฟุก เทียน
阮福晪
Nguyễn Phước Thiển²
พระราชโอรสค.ศ. 1913ค.ศ. 1997บ๋าวดั่ย
保大
ค.ศ. 1926ค.ศ. 1945
ถูกบังคับสละราชสมบัติทรงสถาปนาจักรวรรดิเวียดนามในขณะที่ญี่ปุ่นยึดครองอินโดจีนในสงครามโลกครั้งที่ 2 ต่อมาได้ทรงสละราชสมบัติและมอบอำนาจให้กับโฮจิมินห์ อันเป็นจุดจบของระบอบราชาธิปไตยของเวียดนาม แม้ว่าภายหลังได้ถูกถอดถอนจากฐานะพระประมุขของรัฐของรัฐเวียดนามแล้ว พระองค์ก็ยังไม่เป็นที่นิยมของประชาชนเวียดนาม เพราะถูกมองว่าเป็นหุ่นเชิดของฝรั่งเศส

ใกล้เคียง

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ รายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี รายพระนามจักรพรรดิและพระมหากษัตริย์จีน รายพระนามฟาโรห์ รายพระนามและชื่ออธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย รายพระนามและชื่อผู้บัญชาการทหารบกไทย รายพระนามพระมหากษัตริย์เกาหลี รายพระนามและชื่อภรรยาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา