หลังจัดตั้งเป็นดัชชี ของ รายพระนามผู้ปกครองมิลาน

ราชวงศ์วิสคอนติ

ค.ศ. 1395, เกียน กาเลอัซโซ วิสคอนติได้รับตำแหน่ง ดยุกแห่งมิลานโดย พระเจ้าเวนเซสเลาส์ที่ 4 แห่งโบฮีเมีย,[9] ซึ่งขายตำแหน่งนี้ในราคาราว 100,000 ฟลอริน.[10] นับแต่นั้นมา ผู้ปกครองมิลานจึงมีสถานะเป็นดยุค

ดยุกตราสมัยสมรส
ทายาท
สิทธิ
เกียน กาเลอัซโซ
1347 – 1402
(รวมพระชนม์ 50)
5 กันยายน 1395
 –
3 กันยายน 1402
(1) อิซาเบลลาแห่งฝรั่งเศส
(m. 1360; d. 1372)
4 พระองค์
(2 พระองค์มีชีวิตรอยถึงวัยหนุ่มสาว)

(2) กาเทอรีนา วิสคอนติ
(m. 1380; w. 1402)
2 พระองค์
บุตรนอกกฎหมาย 2 พระองค์
จิโอวานนี มาเรีย
1388 – 1412
(รวมพระชนม์ 23)
3 กันยายน 1402
 –
16 พฤษภาคม 1412
แอนโทเนีย มาลาเทสตาแห่งเคเซนา
(m. 1408; w. 1412)
ไม่มี
พระโอรสในเกียน กาเลอัซโซ
ฟิลิปโป มาเรีย
1392 – 1447
(รวมพระชนม์ 54)
16 พฤษภาคม 1412
 –
13 สิงหาคม 1447
(1) เบียทริซแห่งเทนดา
(m. 1412; ex. 1418)
ไม่มี

(2) แมรี่แห่งซาวอย
(m. 1428; w. 1447)
ไม่มี
บุตรนอกกฎหมาย 1 พระองค์
พระโอรสในเกียน กาเลอัซโซ

ราชวงศ์สฟอร์ซา (ครั้งแรก)

ฟิลิปโป มาเรียสิ้นพระชนม์ในค.ศ. 1447, ตระกูลวิสคอนติสายตรงจึงสิ้นสุดแต่เพียงเท่านี้ นำไปสู่ความวุ่นวายทางการเมือง, กลุ่มเศรษฐี, นักปราชญ์และนักบวชประกาศยุบเลิกดัชชีและจัดตั้งระบอบอภิชนาธิปไตยในนาม สาธารณรัฐโกลเดนอัมโบเซียน[11] สาธารณรัฐไม่เคยได้รับการรับรองและรัฐข้างเคียงทั้งเวนิสและซาวอย พยายามเข้ามาขยายอิทธิพลในนี้ เช่นเดียวกับฝรั่งเศส การใช้ประโยชน์จากความอ่อนแอของรัฐและการฟื้นคืนชีพความขัดแย้งระหว่างเกลฟ์และกิเบลลิเน, ผู้บัญชาการกองทัพมิลาน, ฟรานเซสโกที่ 1 สฟอร์ซา, แปรพักตร์จากมิลานไปอยู่กับเวนิสในค.ศ. 1448,[12] และ 2 ปีให้หลัง, หลังจากสับเปลี่ยนหลายฝ่ายและกลยุทธอันชาญฉลาด, สฟอร์ซาเดินทางเข้าเมืองระหว่างงานแม่พระรับสารเขาประกาศตนเป็นดยุกแห่งมิลาน,[13] และสมรสกับบิอันกา มาเรีย วิสคอนติ พระธิดานอกกฎหมายของฟิลิปโป มาเรีย

ดยุกตราสมัยสมรส
ทายาท
สิทธิ
ฟรานเซสโกที่ 1
1401 – 1466
(aged 64)
25 มีนาคม 1450
 –
8 มีนาคม 1466
(1) โปลิสเซนา รัฟโฟ
(m. 1418; d. 1420)
ไม่มี

(2) บุตรสาวของ ยาโกโป คาลโดรา
(m. 1424; ann. 142?)
ไม่มี

(3) บิอันกา มาเรีย วิสคอนติ
(m. 1441; w. 1466)
8 พระองค์
จิโอวันนา ดักกาปองดองต์
บุตรนอกกฎหมาย 7 พระองค์
(5 survived to adulthood)
กาเลอัซโซ มาเรีย
1444 – 1476
(aged 32)
8 มีนาคม 1466
 –
26 ธันวาคม 1476
โบนาแห่งซาวอย
(m. 1468; w. 1503)
4 พระองค์
ลูเครเซีย ลันดริอานี
บุตรนอกกฎหมาย 4 พระองค์

ลูเซีย มาริอานี
บุตรนอกกฎหมาย 2 พระองค์
พระโอรสในฟรานเซสโกที่ 1 สฟอร์ซา
เกียน กาเลอัสโซ
1469 – 1494
(aged 25)
26 ธันวาคม 1476
 –
21 ตุลาคม 1494
อิซาเบลลาแห่งอารากอน
(m. 1489; w. 1494)
3 พระองค์
พระโอรสในกาเลอัซโซ มาเรีย สฟอร์ซา
ลูโดวิโก
1452 – 1508
(aged 55)
21 ตุลาคม 1494
 –
17 กันยายน 1499
เบียทริซแห่งเอสต์
(m. 1491; d. 1499)
2 พระองค์
Bernardina de Corradis
บุตรนอกกฎหมาย 2 พระองค์

Cecilia Gallerani
บุตรนอกกฎหมาย 1 พระองค์

Lucrezia Crivelli
บุตรนอกกฎหมาย 2 พระองค์
พระโอรสในฟรานเซสโกที่ 1 สฟอร์ซา

ราชวงศ์วาลัวส์ (ครั้งแรก)

ค.ศ. 1494, ลูโดวิโกขึ้นครองตำแหน่งดยุคแห่งมิลาน, หลังมีเสียงเล่าลือว่าทรงลอบวางยาพิษพระภาติยะ เกียน กาเลอัซโซ. หลังภัยคุกคามจากเวเนเทีย, ลูโดวิโกร้องขอให้กษัตริย์ฝรั่งเศส ชาร์ลส์ที่ 8 นำกองทัพลงอิตาลี,[14] เป็นการเริ่มต้นสงครามอิตาเลียนครั้งแรก.หลังลูโดวิโกทรยศไปเป็นพันธมิตรกับสันนิบาตแห่งเวนิสในค.ศ. 1495, ฝรั่งเศสก็พ่ายแพ้ในยุทธการที่ฟอร์โนโว และไม่สามารถขยายอิทธิพลเข้ามาในอิตาลีได้. สร้างความอับอายให้กับแม่ทัพฝรั่งเศสและพระญาติของชาร์ลส์ หลุยส์ที่ 2 ดยุคแห่งออร์เลออง (ต่อมาเป็นพระเจ้าหลุยส์ที่ 12),ประกอบกับการเกลียดลูโดวิโกเป็นการส่วนตัว,[15] หลุยส์จึงอ้างสิทธิเหนือดัชชีแห่งมิลาน, อ้างว่าสืบสายจากวาเลนตินา วิสคอนติและพินัยกรรมของเกียน เกลาซซิโอหลังพระเจ้าหลุยส์ที่ 12 ครองราชสมบัติฝรั่งเศสในค.ศ. 1499, พระองค์เริ่มต้นสงครามอิตาเลียนครั้งที่ 2 เพื่อพิชิตมิลานและเนเปิลส์พร้อมกับกองทัพฝรั่งเศสใกล้ปาเวีย, ลูโดวิโกและผู้ที่ยังภักดีกับเขาหนีออกจากมิลานในวันที่ 17 กันยายน 1499 และหลบหนีไปยังเยอรมนี[16] ทำให้พระเจ้าหลุยส์ที่ 12 กลายเป็นดยุคแห่งมิลาน, เข้าเมืองในวันที่ 6 ตุลาคม 1499.[17]

ดยุกตราสมัยสมรส
ทายาท
สิทธิ
หลุยส์ที่ 1
(ลุยจิที่ 1)

1462 – 1515
(aged 52)
6 ตุลาคม 1499
 –
20 มิถุนายน 1512
(1) ฌานแห่งฝรั่งเศส
(m. 1476; ann. 1498)
ไม่มี

(2) อานน์แห่งเบอร์ตาญ
(m. 1499; d. 1514)
2 พระองค์

(3) แมรี่แห่งอังกฤษ
(m. 1514; w. 1515)
ไม่มี

ราชวงศ์สฟอร์ซา (ครั้งที่ 2)

ลูโดวิโกถูกจับกุมในเดือนกุมภาพันธ์ 1500,[18] และสิ้นพระชนม์ในคุกในค.ศ. 1508 พระโอรสมัสซิมิเลียโนอ่างสิทธิในบัลลังก์มิลานต่อมา, ในที่สุดก็ได้บัลลังก์คืนในเดือนมกราคม 1513 6 เดือนหลังกองทัพสวิสเข้าเมือง

ดยุกตราสมัยสมรส
ทายาท
สิทธิ
มัสซิมิเลียโน
1493 – 1530
(aged 37)
9 มกราคม 1513
 –
5 ตุลาคม 1515
มิได้สมรสพระโอรสในลูโดวิโก

ราชวงศ์วาลัวส์ (ครั้งที่ 2)

หลังความพ่ายแพ้ในยุทธการมารียาโนในค.ศ. 1515, กองทัพสวิสออกไปจากมิลานและมัสซิมิเลียโน ถูกคุมขังโดยทหารฝรั่งเศส เขาสละสิทธิ์ในมิลานแลกกับเงิน 30,000 ดูกัต และพำนักอยู่ในฝรั่งเศสต่อไป[19]

ดยุกตราสมัยสมรส
ทายาท
สิทธิ
ฟรานซิสที่ 2
(ฟรานเซสโกที่ 2)

1494 – 1547
(aged 52)
11 ตุลาคม 1515
 –
20 พฤศจิกายน 1521
(1) โคลดแห่งฝรั่งเศส
(m. 1514; d. 1524)
7 พระองค์

(2) เอเลนอร์แห่งออสเตรีย
(m. 1530; w. 1547)
ไม่มี

ราชวงศ์สฟอร์ซา (ครั้งที่ 3)

เดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1521, สถานการณ์ที่ฝรั่งเศสอ่อนแอลงอย่างรวดเร็ว จักรพรรดิคาร์ลที่ 5, พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ, และสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10ร่วมเป็นพันธมิตรต่อต้านฝรั่งเศสในวันที่ 28 พฤศจิกายน[20] โอเดต์ เดอ ฟัวซ์, วิสเคานต์แห่งโลเทรก, ผู้ว่าการฝรั่งเศสในมิลานได้รับมอบหมายให้ต่อต้านฝ่ายจักรวรรดิและศาสนจักร อย่างไรก็ดี เขาถูกขับไล่ออดจากมิลานในปลายพฤศจิกายน และล่าถอยไปยังบริเวณแม่น้ำแอดดา.[21] นำไปสู่การขึ้นครองอำนาจเป็นครั้งที่ 3 และครั้งสุดท้ายของราชวงศ์สฟอร์ซา

ดยุคตราสมัยสมรส
ทายาท
สิทธิ
ฟรานเซสโกที่ 2
1495 – 1535
(aged 40)
4 เมษายน 1522
 –
24 ตุลาคม 1535
คริสติน่าแห่งเดนมาร์ก
(m. 1534; w. 1535)
ไม่มี
พระโอรสในลูโดวิโก สฟอร์ซา

ค.ศ. 1535, หลังฟราเซสโกที่ 2 สฟอร์ซาสิ้นพระชนม์โดยปราศจากรัชทายาท, จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 ผนวกดัชชีในฐานะรัฐในจักรวรรดิเพื่อหลีกเลี่ยงการอ้างสิทธิ์โดยฝรั่งเศสหรือเครือญาติสาขาอื่นของราชวงศ์สฟอร์ซา

ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก-สเปน

ค.ศ. 1540, ดัชชีถูกส่งต่อให้พระราชโอรสในจักพรรดิคาร์ล เฟลิเป เจ้าชายแห่งอัสตูเรียส ซึ่งมีการส่งมอบเป็นทางการหลังการสละราชสมบัติของจักรพรรดิคาร์ลในค.ศ. 1555 ค.ศ. 1556 เฟลิิเปครองราชย์เป็นพระเจ้าเฟลิเปที่ 2 แห่งสเปน มิลานจึงกลายเป็นรัฐร่วมประมุขกับสเปน

ดยุคตราสมัยสมรส
ทายาท
สิทธิ
เฟลิเปที่ 1
(Filippo I)

1527 – 1598
(aged 71)
11 ตุลาคม 1540
 –
13 กันยายน 1598
(1) มาเรีย มานูเอลาแห่งโปรตุเกส
(m. 1543; d. 1545)
1 พระองค์

(2) สมเด็จพระราชินีนาถแมรี่ที่ 1 แห่งอังกฤษ
(m. 1554; d. 1558)
ไม่มี

(3) เอลืซาเบธแห่งวาลัวส์
(m. 1559; d. 1568)
2 พระองค์

(4) อันนาแห่งออสเตรีย
(m. 1570; d. 1580)
5 พระองค์
(1 survived to adulthood)
รับพระราชทานมาจากคาร์ลที่ 5
เฟลิเปที่ 2
(Filippo II)

1578 – 1621
(aged 42)
13 กันยายน 1598
 –
31 มีนาคม 1621
มาร์กาเร็ตแห่งออสเตรีย
(m. 1599; d. 1611)
8 พระองค์
(5 survived to adulthood)
พระโอรส
เฟลิเปที่ 3
(Filippo III)

1605 – 1665
(aged 60)
31 มีนาคม 1621
 –
17 กันยายน 1665
(1) เอลิซาเบธแห่งฝรั่งเศส
(m. 1615; d. 1644)
8 พระองค์
(2 survived to adulthood)

(2) มาเรียนาแห่งออสเตรีย
(m. 1649; w. 1665)
5 พระองค์
(2 survived to adulthood)
มารีอา กาลเดรอน
นอกกฎหมาย 1 พระองค์
พระโอรส
คาร์ลอสที่ 1
(Carlo I)

1661 – 1700
(aged 38)
17 กันยายน 1665
 –
1 พฤศจิกายน 1700
(1) มารี หลุยส์แห่งออร์เลอองส์
(m. 1679; d. 1689)
ไม่มี

(2) มาเรีย อันนา แห่งนอยบูร์ก
(m. 1690; w. 1700)
ไม่มี
พระโอรส

ราชวงศ์บูร์บง

กันยายน 1700 พระเจ้าคาร์ลอสประชวรหนัก ปอร์โตการ์เรโรเกลี้ยกล่อมให้พระองค์แต่งตั้งพระราชนัดดาในพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสคือเจ้าชายฟิลิป ดยุคแห่งอองชู.[22] เมื่อพระเจ้าคาร์ลอสสวรรคตในวันที่ 1 พฤศจิกายน 1700, พระราชบัลลังก์ถูกส่งต่อไปยังฟิลิป, ซึ่งได้รับการประกาศเป็นพระมหากษัตริย์สเปนในวันที่ 16 พฤศจิกายน 1700 โดยได้รับรองจากอังกฤษและดัตช์ ท่ามกลางการโต้แย้งในด้านดินแดนและเศรษฐกิจนำไปสู่สงครามสืบราชบัลลังก์สเปนในค.ศ. 1701[23]

ดยุคตราสมัยสมรส
ทายาท
สิทธิ
เฟลิเปที่ 4
(Filippo IV)

1683 – 1746
(aged 62)
1 พฤศจิกายน 1700
 –
7 มีนาคม 1714
(1) มาเรีย ลุยซาแห่งซาวอย
(m. 1701; d. 1714)
4 พระองค์
(2 survived to adulthood)

(2) เอลีซาเบตตา ฟาร์เนเซ
(m. 1714; w. 1746)
6 พระองค์
  • ทายาทโดยพินัยกรรมของคาร์ลอสที่ 1
  • มีศักดิ์เป็นพระราชนัดดาในคาร์ลอสที่ 1

ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก-ออสเตรีย (และ ฮับส์บูร์ก-ลอแรน)

หลังสนธิสัญญาราสตัตท์ในค.ศ. 1714, จักรพรรดิคาร์ลที่ 6ได้รับดัชชีแห่งมิลานอย่างเป็นทางการนับเป็นการครอบครองที่ถือว่ามีความสำคัญต่อความมั่นคงของชายแดนทางใต้ของออสเตรีย[24] นับแต่นั้น มิลานจึงเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิฮับส์บูร์ก

ดยุคตราสมัยสมรส
ทายาท
สิทธิ
คาร์ลที่ 2
(Carlo II)

1685 – 1740
(aged 55)
7 มีนาคม 1714
 –
20 ตุลาคม 1740
เอลิซาเบธ คริสตีนแห่งบรันสวิก-โวลแฟงบูทเทล
(m. 1708; w. 1740)
4 พระองค์
(3 survived to adulthood)
มาเรีย เทเรซา
(Maria Teresa)

1717 – 1780
(aged 63)
20 ตุลาคม 1740
 –
29 พฤศจิกายน 1780
ฟรานซ์ที่ 1 จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
(m. 1736; d. 1765)
15 พระองค์
(10 survived to adulthood)
โจเซฟที่ 1
(Giuseppe I)

1741 – 1790
(aged 48)
29 พฤศจิกายน 1780
 –
20 กุมภาพันธ์ 1790
(1) อิซาเบลลาแห่งปาร์มา
(m. 1760; d. 1763)
2 พระองค์
(Not survived to adulthood)

(2) มาเรีย โฌเซฟา แห่งบาวาเรีย
(m. 1765; d. 1767)
ไม่มี
เลโอโปลด์ที่ 1
(Leopoldo I)

1747 – 1792
(aged 44)
20 กุมภาพันธ์ 1790
 –
1 มีนาคม 1792
ทาเรีย ลุยซาแห่งสเปน
(m. 1765; w. 1792)
16 พระองค์
(14 survived to adulthood)
ฟรานซ์ที่ 3
(Francesco III)

1768 – 1835
(aged 67)
1 มีนาคม 1792
 –
15 พฤษภาคม 1796
(1) เอลีซาเบธแห่งเวือร์ทเทิมแบร์ค
(m. 1788; d. 1790)
1 พระองค์
(Not survived to adulthood)

(2) มาเรีย เทเรซา แห่งเนเปิลส์และซิซิลี
(m. 1790; d. 1807)
11 พระองค์
(7 survived to adulthood)

(3) Mมาเรีย ลูโดวิก้าแห่งออสเตรีย-เอสต์
(m. 1808; d. 1816)
ไม่มี

(4) แคโรไลน์ ออกัสตา แห่งบาวาเรีย
(m. 1816; w. 1835)
ไม่มี
ว่างกษัตริย์ (1796 – 1814):
สงครามปฏิวัติฝรั่งเศสและสงครามนโปเลียน
11 เมษายน 1814
 –
7 เมษายน 1815
การประชุมที่เวียนนาดู กษัตริย์แห่งลอมบาร์ดีและเวเนเทีย

ใกล้เคียง

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย รายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ รายพระนามจักรพรรดิและพระมหากษัตริย์จีน รายพระนามและชื่อผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า รายพระนามและชื่อผู้ได้รับพระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ รายพระนามและชื่อผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน) รายพระนามฟาโรห์ รายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ รายพระนามพระสันตะปาปา

แหล่งที่มา

WikiPedia: รายพระนามผู้ปกครองมิลาน http://www.treccani.it/enciclopedia/cassone-della-... http://www.treccani.it/enciclopedia/della-torre_(E... http://www.treccani.it/enciclopedia/guido-della-to... http://www.treccani.it/enciclopedia/martino-della-... http://www.treccani.it/enciclopedia/venceslao-iv-r... https://books.google.com/books?id=JqVPDwAAQBAJ https://books.google.com/books?id=USInDwAAQBAJ https://books.google.com/books?id=wwAUAAAAQAAJ https://www.questia.com/PM.qst?a=o&d=4776025 https://archive.org/details/renaissancerefor00luca