รูบิเดียม
รูบิเดียม

รูบิเดียม

Link title|-รูบิเดียม (อังกฤษ: Rubidium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 37 และสัญลักษณ์คือ Rb รูบิเดียมอยู่ในตารางธาตุหมู่ 1 รูบิเดียมเป็นธาตุในกลุ่มโลหะแอลคาไล มีสีขาวเงินเนื้ออ่อน Rb-87 เป็นไอโซโทปเรดิโอแอคตีฟที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ สามารถติดไฟได้เองในอากาศ

รูบิเดียม

การออกเสียง /rʉˈbɪdiəm/ roo-bid-ee-əm
หมู่ คาบและบล็อก 1 (โลหะแอลคาไล), 5, s
โครงสร้างผลึก รูปลูกบาศก์กลางตัว

มอดุลัสของยัง 2.4 GPa
มวลอะตอมมาตรฐาน 85.4678(3)
รัศมีวานเดอร์วาลส์ 303 pm
เลขทะเบียน CAS 7440-17-7
สถานะ ของแข็ง
การแยกครั้งแรก George de Hevesy
จุดหลอมเหลว 312.46 K, 39.31 °C, 102.76 °F
รัศมีอะตอม 248 pm
ความเป็นแม่เหล็ก พาราแมกนาติก[1]
ความหนาแน่นของเหลวที่จุดหลอมเหลว 1.46 g·cm−3
ไอโซโทปNAครึ่งชีวิตDMDE (MeV)DP
ไอโซโทปNAครึ่งชีวิตDMDE (MeV)DP
83Rbsyn86.2 dε-83Kr
γ0.52, 0.53,
0.55
-
84Rbsyn32.9 dε-84Kr
β+1.66, 0.7884Kr
γ0.881-
β−0.89284Sr

Link title|-

85Rb72.168%85Rb is stable with 48 neutrons
86Rbsyn18.65 dβ−1.77586Sr
γ1.0767-
87Rb27.835%4.88×1010 yβ−0.28387Sr
พลังงานไอออไนเซชัน ค่าที่ 1: 403 kJ·mol−1
โมดูลัสของแรงบีบอัด 2.5 GPa
สถานะออกซิเดชัน 1
(strongly basic oxide)
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) 1.532 g·cm−3
สภาพนำไฟฟ้า (20 °C) 128 nΩ·m
ความร้อนของการหลอมเหลว 2.19 kJ·mol−1
ความร้อนของการกลายเป็นไอ 75.77 kJ·mol−1
ชื่อ สัญลักษณ์ และเลขอะตอม รูบิเดียม, Rb, 37
อิเล็กโตรเนกาติวิตี 0.82 (Pauling scale)
จุดวิกฤต (extrapolated) 2093 K, 16 MPa
รัศมีโควาเลนต์ 220±9 pm
การค้นพบ โรเบิร์ต บุนเซน and Gustav Kirchhoff (1861)
ความจุความร้อนโมลาร์ 31.060 J·mol−1·K−1
ความแข็งของบริเนลล์ 0.216 MPa
การจัดเรียงอิเล็กตรอน [Kr] 5s1
2, 8, 18, 8, 1
ชั้นพลังงานอิเล็กตรอนของรูบิเดียม (2, 8, 18, 8, 1)
ความเร็วเสียง (thin rod) (ที่ 20 °C) 1300 m·s−1
ความแข็งของโมส์ 0.3
จุดเดือด 961 K, 688 °C, 1270 °F
สภาพนำความร้อน 58.2 W·m−1·K−1
อนุกรมเคมี โลหะแอลคาไล