พายุ ของ ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดีย_พ.ศ._2559

พายุไซโคลนโรอานู

พายุไซโคลน (IMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา17 – 22 พฤษภาคม
ความรุนแรง85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 3 นาที)
983 mbar (hPa; 29.03 inHg)
  • วันที่ 14 พฤษภาคม หย่อมความกดอากาศต่ำได้ก่อตัวขึ้นเหนืออ่าวเบงกอล ภายใต้อิทธิพลของร่องความกดอากาศต่ำ[2][3]
  • วันที่ 17 พฤษภาคม มันแข็งแกร่งขึ้นอย่างช้า ๆ พร้อมกับที่กรมอุตุนิยมวิทยาอินเดีย (IMD) จัดระดับมันเป็นพายุดีเปรสชัน ขณะที่ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (JTWC) ได้ประกาศการแจ้งเตือนการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน (TCFA) ซึ่งต่อจากนั้นระบบได้ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อน ตามการจัดระดับของ JTWC[4][5]
  • วันที่ 18 พฤษภาคม IMD ประกาศทวีกำลังของพายุตามการจัดระดับเป็นพายุดีเปรสชันหมุนเร็ว พร้อมกับออกคำสั่งการเตือนภัยพายุไซโคลนสำหรับรัฐอานธรประเทศ และ รัฐโอริศา[6]
  • วันที่ 19 พฤษภาคม IMD รายงานว่าพายุได้บรรลุถึงการเป็นพายุไซโคลน และใช้ชื่อ โรอานู (Roanu)[7] ต่อมาพายุไซโคลนเคลื่อนตัวไปทางตะวันออกเฉียงเหนือและทวีกำลังขึ้นต่อเนื่องจนกระทั่งลมเฉือนที่มีตลอดเวลา และการที่มันอยู่ใกล้แผ่นดินมาก ทำให้มันเริ่มอ่อนกำลังลงในวันเดียวกัน[8][9] อย่างไรก็ตาม ลมเฉือนได้ลดลงอย่างรวดเร็ว และโรอานูทวีกำลังแรงขึ้นได้อีกครั้ง การหมุนเวียนเริ่มก่อตัวขึ้นอีกครั้งรอบศูนย์การหมุนเวียนลมระดับต่ำ[10][11]
  • วันที่ 21 พฤษภาคม ระบบเคลื่อนตัวไปทางตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งเหนือ และขึ้นฝั่งใกล้กับเมืองจิตตะกอง ประเทศบังกลาเทศ ในขณะที่มันอ่อนกำลังลง[12]

พายุดีเปรสชัน เออาร์บี 01

ดีเปรสชัน (IMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา27 – 29 มิถุนายน
ความรุนแรง45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 3 นาที)
993 mbar (hPa; 29.32 inHg)

พายุดีเปรสชันบนแผ่นดิน 01

พายุดีเปรสชันหมุนเร็ว (IMD)
ระยะเวลา9 – 13 สิงหาคม
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 3 นาที)
986 mbar (hPa; 29.12 inHg)

พายุดีเปรสชันหมุนเร็ว บีโอบี 02

พายุดีเปรสชันหมุนเร็ว (IMD)
ระยะเวลา16 August – 22 August
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 3 นาที)
987 mbar (hPa; 29.15 inHg)

พายุไซโคลนจั่น

พายุไซโคลน (IMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา21 – 28 ตุลาคม
ความรุนแรง75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 3 นาที)
998 mbar (hPa; 29.47 inHg)

พายุดีเปรสชัน บีโอบี 04

ดีเปรสชัน (IMD)
ระยะเวลา3 – 6 พฤศจิกายน
ความรุนแรง45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 3 นาที)
1000 mbar (hPa; 29.53 inHg)

พายุไซโคลนนาดา

พายุไซโคลน (IMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา29 พฤศจิกายน – 2 ธันวาคม
ความรุนแรง75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 3 นาที)
1000 mbar (hPa; 29.53 inHg)

พายุไซโคลนกำลังแรงมากวาร์ดะห์

พายุไซโคลนกำลังแรงมาก (IMD)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา6 – 13 ธันวาคม
ความรุนแรง130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 3 นาที)
982 mbar (hPa; 29 inHg)

พายุดีเปรสชัน เออาร์บี 02

ดีเปรสชัน (IMD)
ระยะเวลา17 – 18 พฤศจิกายน
ความรุนแรง45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 3 นาที)
1004 mbar (hPa; 29.65 inHg)

ใกล้เคียง

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2566 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2565 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2562 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2544 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2563 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2560 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2546 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2545

แหล่งที่มา

WikiPedia: ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดีย_พ.ศ._2559 http://www.newindianexpress.com/world/Bangladesh-a... http://www.imd.ernet.in/services/cyclone/tropical-... http://www.rsmcnewdelhi.imd.gov.in/index.php?lang=... http://www.japantimes.co.jp/news/2016/05/23/world/... http://www.usno.navy.mil/JTWC/ http://www.webcitation.org/6hV9PzVIr http://www.webcitation.org/6hVA8VqTr http://www.webcitation.org/6haRFWdIA http://www.webcitation.org/6hapikrpr http://www.webcitation.org/6haqbSLdl