พายุ ของ ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก_พ.ศ._2519

ในปีนี้ มหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกมีพายุโซนร้อน 25 ลูก ในจำนวนนี้พัฒนาเป็นพายุไต้ฝุ่น 14 ลูก และในจำนวนนั้น 4 ลูกพัฒนาเป็นถึงพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น[1]

พายุไต้ฝุ่นแคที

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา26 มกราคม – 2 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
965 mbar (hPa; 28.5 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนอาเซียง

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
ระยะเวลา26 มกราคม – 1 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
ไม่ทราบความกดอากาศ

อาเซียง (Asiang) เป็นชื่อที่ตั้งโดย PAGASA

พายุดีเปรสชันเขตร้อนบีริง

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
ระยะเวลา8 – 11 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
ไม่ทราบความกดอากาศ

บีริง (Biring) เป็นชื่อที่ตั้งโดย PAGASA

พายุโซนร้อนลอร์นา

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา25 กุมภาพันธ์ – 3 มีนาคม
ความรุนแรง65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
998 mbar (hPa; 29.47 inHg)

พายุไต้ฝุ่นมารี (โกนซิง)

พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา1 – 16 เมษายน
ความรุนแรง215 กม./ชม. (130 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
930 mbar (hPa; 27.46 inHg)

พายุโซนร้อนแนนซี

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา24 เมษายน – 3 พฤษภาคม
ความรุนแรง100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
985 mbar (hPa; 29.09 inHg)

พายุไต้ฝุ่นออลกา (ดีดัง)

พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา10 – 28 พฤษภาคม
ความรุนแรง185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
940 mbar (hPa; 27.76 inHg)

พายุไต้ฝุ่นพาเมลา

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา14 – 29 พฤษภาคม
ความรุนแรง240 กม./ชม. (150 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
920 mbar (hPa; 27.17 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนโกลริง

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
ระยะเวลา15 – 18 มิถุนายน
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
ไม่ทราบความกดอากาศ

โกลริง (Gloring) เป็นชื่อที่ตั้งโดย PAGASA

พายุไต้ฝุ่นรูบี (ฮัวนิง)

พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา20 มิถุนายน – 5 กรกฎาคม
ความรุนแรง220 กม./ชม. (140 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
935 mbar (hPa; 27.61 inHg)

พายุไต้ฝุ่นแซลลี (อีซัง)

พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา24 มิถุนายน – 5 กรกฎาคม
ความรุนแรง215 กม./ชม. (130 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
925 mbar (hPa; 27.32 inHg)

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นเทอรีส

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา8 – 21 กรกฎาคม
ความรุนแรง250 กม./ชม. (155 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
905 mbar (hPa; 26.72 inHg)

พายุไต้ฝุ่นเทอรีสก่อตัวขึ้นเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม มีกำลังสูงสุดในวันที่ 12 ถึง 13 กรกฎาคม ด้วยความเร็วลม 250 กม./ชม. ในฐานะพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น จากนั้นจึงอ่อนกำลังลง และส่งผลกระทบต่อทางตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก โดยขึ้นฝั่งที่ประเทศญี่ปุ่นในฐานะพายุโซนร้อนเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม จากนั้นพายุเคลื่อนเป็นวังวนไปทางตะวันตก และสลายตัวไปในวันที่ 21 กรกฎาคม ทำให้เกิดมหาอุทกภัยขึ้น มีผู้เสียชีวิต 3 ราย และสร้างความเสียหายนับล้าน

พายุโซนร้อนไวโอเลต (ลูซิง)

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา20 – 27 กรกฎาคม
ความรุนแรง100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
985 mbar (hPa; 29.09 inHg)

พายุโซนร้อนไวโอเลตส่งผลกระทบกับฮ่องกง และเกาะไหหน่าน มีผู้เสียชีวิต 2 ราย[2]

พายุโซนร้อนวิลดา

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา17 – 24 กรกฎาคม
ความรุนแรง85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
985 mbar (hPa; 29.09 inHg)

พายุไต้ฝุ่นแอนิตา (มาริง)

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา20 – 27 กรกฎาคม
ความรุนแรง120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
980 mbar (hPa; 28.94 inHg)

พายุไต้ฝุ่นบิลลี (นีตัง)

พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา31 กรกฎาคม – 12 สิงหาคม
ความรุนแรง230 กม./ชม. (145 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
915 mbar (hPa; 27.02 inHg)

พายุโซนร้อนแคลรา

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา2 – 8 สิงหาคม
ความรุนแรง75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
985 mbar (hPa; 29.09 inHg)

พายุโซนร้อนดอต (โอซัง)

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา17 – 24 สิงหาคม
ความรุนแรง95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
990 mbar (hPa; 29.23 inHg)

พายุโซนร้อนเอลเลน (ปาริง)

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา20 – 25 สิงหาคม
ความรุนแรง85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
992 mbar (hPa; 29.29 inHg)

พายุโซนร้อนเอลเลนส่งผลกระทบกับฮ่องกง ทำให้มีผู้เสียชีวิต 27 คน และสูญหายอีก 3 คน[2]

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นแฟรน (เรมิง)

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา2 – 15 กันยายน
ความรุนแรง240 กม./ชม. (150 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
910 mbar (hPa; 26.87 inHg)

พายุโซนร้อนจอร์เจีย

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา8 – 16 กันยายน
ความรุนแรง75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
990 mbar (hPa; 29.23 inHg)

พายุไต้ฝุ่นโฮป

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา13 – 19 กันยายน
ความรุนแรง130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
965 mbar (hPa; 28.5 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนเซเนียง

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
ระยะเวลา13 – 14 กันยายน
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
ไม่ทราบความกดอากาศ

เซเนียง (Seniang) เป็นชื่อที่ตั้งโดย PAGASA

พายุไต้ฝุ่นไอริส (โตยัง)

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา14 – 29 กันยายน
ความรุนแรง140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
975 mbar (hPa; 28.79 inHg)

พายุไต้ฝุ่นโจน

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา18 – 25 กันยายน
ความรุนแรง130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
965 mbar (hPa; 28.5 inHg)

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นลูอิส

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
ระยะเวลา27 ตุลาคม – 9 พฤศจิกายน
ความรุนแรง260 กม./ชม. (160 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
895 mbar (hPa; 26.43 inHg)

พายุโซนร้อนมาร์ช (โยนิง)

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา4 – 12 พฤศจิกายน
ความรุนแรง110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
975 mbar (hPa; 28.79 inHg)

พายุโซนร้อนนอรา (อาริง)

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา1 – 8 ธันวาคม
ความรุนแรง85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
990 mbar (hPa; 29.23 inHg)

พายุโซนร้อนโอปอล (บาเซียง)

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา8 – 10 ธันวาคม
ความรุนแรง65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
995 mbar (hPa; 29.38 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนกายัง

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
ระยะเวลา29 – 30 ธันวาคม
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
ไม่ทราบความกดอากาศ

กายัง (Kayang) เป็นชื่อที่ตั้งโดย PAGASA

ใกล้เคียง

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2566 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2565 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2562 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2544 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2563 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2560 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2546 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2545