พายุ ของ ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก_พ.ศ._2520

ในปีนี้ มหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกมีพายุดีเปรสชันเขตร้อน 26 ลูก ในจำนวนนี้ 20 ลูก พัฒนาเป็นพายุโซนร้อน ในจำนวนพายุโซนร้อน พัฒนาเป็นพายุไต้ฝุ่น 11 ลูก และในจำนวนนั้น 1 ลูกพัฒนาเป็นถึงพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น[1]

พายุดีเปรสชันเขตร้อนอาตริง

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
ระยะเวลา10 – 13 มกราคม
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
ไม่ทราบความกดอากาศ

อาตริง (Atring) เป็นชื่อที่ตั้งโดย PAGASA

พายุโซนร้อนกำลังแรงแพตซี

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา23 – 31 มีนาคม
ความรุนแรง95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
990 mbar (hPa; 29.23 inHg)

พายุแพตซีเป็นพายุที่อยู่ห่างจากแผ่นดิน

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 02W (บีนิง)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา26 – 27 พฤษภาคม
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
1000 mbar (hPa; 29.53 inHg)

พายุดีเปรสชัน 02W เป็นพายุที่มีช่วงอายุสั้น

พายุโซนร้อนกำลังแรงรูท (กูริง)

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา14 – 17 มิถุนายน
ความรุนแรง110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
975 mbar (hPa; 28.79 inHg)

พายุรูทส่งผลกระทบต่อประเทศจีน

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 04W (ดาลิง)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา5 – 6 กรกฎาคม
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที)
995 mbar (hPa; 29.38 inHg)

พายุดีเปรสชัน 04W ส่งผลกระทบกับภาคใต้ของประเทศจีน

พายุไต้ฝุ่นซาราห์ (เอลัง)

พายุไต้ฝุ่น (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา16 – 21 กรกฎาคม
ความรุนแรง130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
970 mbar (hPa; 28.64 inHg)

พายุซาราห์ส่งผลกระทบกับประเทศจีน

พายุไต้ฝุ่นเทลมา (โกริง)

พายุไต้ฝุ่น (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา21 – 26 กรกฎาคม
ความรุนแรง130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
950 mbar (hPa; 28.05 inHg)

พายุเทลมาส่งผลกระทบกับตอนบนของประเทศฟิลิปปินส์ เกาะไต้หวัน และภาคตะวันออกของประเทศจีน

พายุไต้ฝุ่นเวรา (ฮูลิง)

พายุไต้ฝุ่น (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา28 กรกฎาคม – 1 สิงหาคม
ความรุนแรง205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
925 mbar (hPa; 27.32 inHg)

พายุเวราส่งผลกระทบเกาะไต้หวัน ก่อตัวเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พัดเข้าเกาะไต้หวันทางตะวันออกในวันที่ 31 กรกฎาคม และไปสลายตัวในภาคตะวันออกเฉียงใต้ของจีน

พายุโซนร้อนวานดา

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา31 กรกฎาคม – 4 สิงหาคม
ความรุนแรง75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
985 mbar (hPa; 29.09 inHg)

พายุวานดาไม่ส้งผลกระทบต่อแผ่นดินใหญ่

พายุโซนร้อนกำลังแรงเอมี (อีเบียง)

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา20 – 23 สิงหาคม
ความรุนแรง110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
985 mbar (hPa; 29.09 inHg)

พายุโซนร้อนเดือนสิงหาคม

พายุโซนร้อน (JMA)
ระยะเวลา21 – 22 สิงหาคม
ความรุนแรง75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
988 mbar (hPa; 29.18 inHg)

พายุโซนร้อนไม่มีชื่อลูกนี้เป็นพายุโซนร้อนอายุสั้นลูกหนึ่ง

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นเบ็บ (มีลิง)

พายุไต้ฝุ่น (JMA)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา2 – 12 กันยายน
ความรุนแรง205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
905 mbar (hPa; 26.72 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนก่อตัวขึ้นในวันที่ 2 กันยายน มันเคลื่อนตัวไปทางตะวันตกเฉียงเหนือเฉไปทางตะวันตกพร้อมทั้งทวีกำลังแรงขึ้น ในวันที่ 5 กันยายน พายุโซนร้อนเปลี่ยนทิศทางเคลื่อนตัวไปทางตะวันตกเฉียงเหนือแต่เฉไปทางทิศเหนือมากขึ้น จากนั้นไม่นาน เบ็บทวีกำลังแรงขึ้นอย่างรวดเร็ว จนบรรลุความรุนแรงสูงสุดในวันที่ 8 กันยายน ด้วยความเร็วลม 240 กม./ชม. และมีความกดอากาศ 905 มิลลิบาร์ จากนั้นมันเคลื่อนตัวโค้งไปทางตะวันออกก่อนในครั้งแรก แล้วจึงเบนทวนเข็มนาฬิกาไปทางตะวันตก ในลักษณะเคลื่อนตัวอ้อมหมู่เกาะรีวกีว เนื่องจากมีปฏิสัมพันธ์กับหย่อมความกดอากาศต่ำที่ก่อตัวขึ้นในคาบสมุทรเกาหลี พร้อมทั้งอ่อนกำลังลง จากนั้นจึงพัดขึ้นฝั่งใกล้กับนครเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน ในวันที่ 11 กันยายน ในฐานะพายุไต้ฝุ่นกำลังอ่อน ก่อนจะสลายตัวบนแผ่นดินในวันต่อมา[2][3]

ในตอนที่เคลื่อนตัวผ่านหมู่เกาะรีวกีวนั้น เบ็บเป็นพายุไต้ฝุ่นที่ทรงพลัง ทำให้เกิดความเสียหายขึ้นอย่างมาก บ้านเรือนมากกว่า 1,000 หลังถูกทำลาย และอีกเกือบ 7,000 หลังได้รับความเสียหายหรือประสบอุทกภัย มีผู้เสียชีวิตจำนวน 1 คนในเกาะอามามิ โอชิมะ และอีก 77 คนได้รับบาดเจ็บ[4] สร้างความเสียหายถึง 6.1 พันล้านเยน (23 ล้านดอลลาร์สหรัฐ)[5] ส่วนพื้นที่ในทะเล เรือมากกว่า 100 ลำได้รับผลกระทบจากพายุ รวมถึงเรือบรรทุกสินค้าสัญชาติปานามา ที่มีผู้เสียชีวิตจำนวน 13 คนด้วย[2] ส่วนที่ประเทศจีน บ้านเรือนมากกว่า 24,000 หลังถูกทำลาย และมีผู้เสียชีวิต 9 คน[6]

พายุโซนร้อนคาร์ลา (ลูมิง)

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา3 – 5 กันยายน
ความรุนแรง65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
990 mbar (hPa; 29.23 inHg)

พายุคาร์ลาส่งผลกระทบกับประเทศเวียดนาม

พายุไต้ฝุ่นไดนาห์ (โอเปง)

พายุไต้ฝุ่น (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา14 – 23 กันยายน
ความรุนแรง130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
965 mbar (hPa; 28.5 inHg)

พายุไดนาห์ทำให้เกิดฝนตกหนักและอุทกภัยบนเกาะลูซอนของฟิลิปปินส์ ทำให้มีผู้เสียชีวิต 54 คน และสูญหายอีก 11 คน[7]

พายุดีเปรสชันเขตร้อนนาร์ซิง

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา11 – 13 กันยายน
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
ไม่ทราบความกดอากาศ

พายุโซนร้อนกำลังแรงเอ็มมา

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา15 – 20 กันยายน
ความรุนแรง110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
965 mbar (hPa; 28.5 inHg)

พายุเอ็มมาส่งผลกระทบต่อประเทศญี่ปุ่น

พายุโซนร้อนกำลังแรงฟรีดา (ปีนิง)

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา23 – 25 กันยายน
ความรุนแรง100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
980 mbar (hPa; 28.94 inHg)

พายุฟรีดาส่งผลกระทบกับฮ่องกง มีผู้เสียชีวิต 1 คน[8]

พายุไต้ฝุ่นกิลดา

พายุไต้ฝุ่น (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา3 – 10 ตุลาคม
ความรุนแรง120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
965 mbar (hPa; 28.5 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนรูบิง

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา14 – 16 ตุลาคม
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
ไม่ทราบความกดอากาศ

พายุโซนร้อนกำลังแรงแฮเรียต (ซาลิง)

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา16 – 20 ตุลาคม
ความรุนแรง100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
980 mbar (hPa; 28.94 inHg)

พายุไต้ฝุ่นไอวี

พายุไต้ฝุ่น (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา21 – 27 ตุลาคม
ความรุนแรง150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
940 mbar (hPa; 27.76 inHg)

พายุไต้ฝุ่นจีน

พายุไต้ฝุ่น (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา28 ตุลาคม – 3 พฤศจิกายน
ความรุนแรง120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
970 mbar (hPa; 28.64 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนตาซิง

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา3 – 5 พฤศจิกายน
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
ไม่ทราบความกดอากาศ

ตาซิง (Tasing) เป็นชื่อที่ตั้งโดย PAGASA

พายุไต้ฝุ่นคิม (อุนซิง)

พายุไต้ฝุ่น (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา6 – 17 พฤศจิกายน
ความรุนแรง205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
920 mbar (hPa; 27.17 inHg)

พายุคิมส่งผลกระทบกับประเทศฟิลิปปินส์

พายุไต้ฝุ่นลูซี (วาล์ดิง)

พายุไต้ฝุ่น (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา28 พฤศจิกายน – 7 ธันวาคม
ความรุนแรง205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
920 mbar (hPa; 27.17 inHg)

พายุไต้ฝุ่นแมรี (เยเยง)

พายุไต้ฝุ่น (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา20 ธันวาคม 2520 – 3 มกราคม 2521
ความรุนแรง155 กม./ชม. (100 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
945 mbar (hPa; 27.91 inHg)

ใกล้เคียง

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2566 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2565 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2562 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2544 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2563 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2560 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2546 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2545

แหล่งที่มา

WikiPedia: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก_พ.ศ._2520 http://baseportal.com/cgi-bin/baseportal.pl?htx=/m... http://storm5.atms.unca.edu/browse-ibtracs/browseI... //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/10204288 http://www.hko.gov.hk/informtc/historical_tc/cdtc.... http://agora.ex.nii.ac.jp/cgi-bin/dt/dsummary.pl?i... http://www.usno.navy.mil/NOOC/nmfc-ph/RSS/jtwc/atc... http://www.usno.navy.mil/NOOC/nmfc-ph/RSS/jtwc/atc... //doi.org/10.1111%2F1467-7717.00105 https://news.google.com/newspapers?id=F_VLAAAAIBAJ... https://web.archive.org/web/20041109181317/http://...