รายชื่อพายุ ของ ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก_พ.ศ._2530

ในฤดูกาลนี้มีชื่อถูกใช้ไปทั้งสิ้น 23 ชื่อ โดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วมเป็นผู้ตั้งชื่อให้กับพายุหมุนเขตร้อนเหล่านี้ เมื่อระบบดังกล่าวมีความรุนแรงถึงระดับพายุโซนร้อนแล้ว รายชื่อเหล่านี้เป็นชุดรายชื่อฉบับแก้ไข เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522

ศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม

รหัสเรียกพายุเป็นตัวเลขสี่หลัก สองหลักแรกเป็นตัวย่อของฤดูกาลนี้ในระบบปีคริสต์ศักราช (ค.ศ. 1987) และสองตัวหลังเป็นหมายเลขของพายุตามลำดับของกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น[2] ส่วนรหัสเรียกพายุที่เป็นตัวเลขต่อท้ายด้วยตัวอักษร W กำหนดโดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม[3]

รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนสากลของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกในฤดูกาล 2530
รหัสเรียกชื่อพายุรหัสเรียกชื่อพายุรหัสเรียกชื่อพายุรหัสเรียกชื่อพายุรหัสเรียกชื่อพายุ
8701
(01W)
ออร์คิด
(Orchid)
8706
(06W)
เวอร์นอน
(Vernon)
8712
(11W)
ไดน่าห์
(Dinah)
8716
(16W)
เอียน
(Ian)
8722
(22W)
นีน่า
(Nina)
8702
(02W)
เพอร์ซี่
(Percy)
8707
(07W)
เวย์น
(Wynne)

(12W)
เอ็ด
(Ed)
8718
(18W)
จูน
(June)

(23W)
อ็อกเดน
(Ogden)
8703
(03W)
รูท
(Ruth)
8708
(08W)
อเล็กซ์
(Alex)
8713
(13W)
ฟรีดา
(Freda)
8719
(19W)
เคลลี่
(Kelly)
8723
(24W)
ฟิลลิส
(Phyllis)
8704
(04W)
สเปอร์รี่
(Sperry)
8709
(09W)
เบ็ตตี้
(Betty)
8714
(14W)
เจอรัลด์
(Gerald)
8720
(20W)
ลินน์
(Lynn)
8705
(05W)
เต็ลมา
(Thelma)
8711
(10W)
แครี่
(Cary)
8715
(15W)
ฮอลลี่
(Holly)
8721
(21W)
โมรี
(Maury)

หมายเหตุ: รหัสเรียกที่ 8717 ถูกใช้กับพายุเฮอร์ริเคนเปเก หลังจากที่พายุดังกล่าวเคลื่อนข้ามเส้นแบ่งวันสากลเข้ามาในแอ่ง ส่วน รหัสเรียกที่ 8710 ถูกใช้กับพายุโซนร้อนที่ไม่ได้ติดตามโดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม

ฟิลิปปินส์

สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) จะใช้ชื่อของตัวเองหากมีพายุใดก่อตัวหรือเคลื่อนผ่านพื้นที่รับผิดชอบของตน[4] โดย PAGASA จะตั้งชื่อพายุให้กับพายุดีเปรสชันเขตร้อนที่ก่อตัวขึ้นภายในพื้นที่รับผิดชอบของตน และพายุหมุนเขตร้อนใดก็ตามที่เคลื่อนตัวผ่านพื้นที่ดังกล่าว โดยชื่อที่ใช้ถูกนำมาจากรายชื่อที่เป็นรายชื่อเดียวกับที่ถูกใช้ไปในฤดูกาล ค.ศ. 1983 (พ.ศ. 2526) ซึ่งชื่อใดในชุดนี้ที่ไม่ถูกถอนจะถูกนำกลับมาใช้ใหม่อีกครั้งในปี ค.ศ. 1991 (พ.ศ. 2534) โดย PAGASA ใช้รูปแบบการตั้งชื่อของตัวเองแบบเรียงตามตัวอักษรฟิลิปิโน (A, B, K, D เป็นต้น) เป็นชื่อผู้หญิงในภาษาฟิลิปิโน ซึ่งลงท้ายด้วยอักษร "ng" โดยชื่อที่ไม่ถูกใช้จะทำเป็น อักษรสีเทา

รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนท้องถิ่นฟิลิปปินส์ในฤดูกาล 2530
เอาริง (Auring)เฮนิง (Gening)เนเนง (Neneng)ตรีนิง (Trining)
เบเบง (Bebeng)เฮร์มิง (Herming)โอเนียง (Oniang)ยูริง (Uring) (ไม่ถูกใช้)
การิง (Karing)อีซิง (Ising)เปปัง (Pepang)วาร์ลิง (Warling) (ไม่ถูกใช้)
ดีดิง (Diding)ลูดิง (Luding)โรซิง (Rosing)ยายัง (Yayang) (ไม่ถูกใช้)
เอตัง (Etang)มาเมง (Mameng)ซีซัง (Sisang)
รายชื่อเพิ่มเติม
อาดิง (Ading) (ไม่ถูกใช้)บารัง (Barang) (ไม่ถูกใช้)
กรีซิง (Krising) (ไม่ถูกใช้)ดาดัง (Dadang) (ไม่ถูกใช้)เอร์ลิง (Erling) (ไม่ถูกใช้)โกยิง (Goying) (ไม่ถูกใช้)

การถอนชื่อ

เนื่องจากพายุไต้ฝุ่นกาตริง, เฮร์มิง และ ซีซัง สร้างความเสียหายและทำให้มียอดผู้เสียชีวิตจำนวนมากในประเทศฟิลิปปินส์ PAGASA จึงถอนชื่อ กาตริง, เฮร์มิง และ ซีซัง ออกจากชุดรายชื่อ และเลือกชื่อ การิง (Karing), เฮล์มิง (Helming) และ เซนดัง (Sendang) มาใช้แทนตามลำดับ

ใกล้เคียง

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2566 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2565 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2562 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2544 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2563 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2560 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2546 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2545

แหล่งที่มา

WikiPedia: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก_พ.ศ._2530 http://tcdata.typhoon.gov.cn/en/ http://www.prh.noaa.gov/guam/cyclone.php http://www.hko.gov.hk/informtc/tcMain.htm http://meteo.bmkg.go.id/siklon http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/ http://www.jma.go.jp/en/typh/ http://www.jma.go.jp/jma/jma-eng/jma-center/rsmc-h... http://web.kma.go.kr/eng/weather/typoon/typhoon_5d... http://www.metoc.navy.mil/jtwc/ http://www.met.gov.my/index.php?option=com_content...