กลไก ของ วัคซีนเชื้อตาย

เมื่อทำลายอนุภาคจุลชีพก่อโรคแล้ว จุลชีพก็จะไม่สามารถแพร่พันธุ์ แต่ยังคงสภาพบางอย่างที่ระบบภูมิคุ้มกันสามารถระบุแล้วตอบสนองด้วยกลไกแบบปรับตัวได้เมื่อผลิตอย่างถูกต้อง วัคซีนย่อมไม่สามารถแพร่โรค แต่การฆ่าจุลชีพก่อโรคอย่างไม่ถูกต้องอาจทำให้ติดโรคได้เพราะจุลชีพก่อโรคที่ฆ่าแล้วมักจะทำให้ภูมิคุ้มกันตอบสนองอ่อนกว่าจุลชีพเป็น ๆ การผสมใส่ตัวเสริมภูมิคุ้มกัน (immunologic adjuvant)[upper-alpha 1] หรือการฉีดยาหลายครั้งอาจจำเป็นเพื่อให้เกิดภูมิคุ้มกันที่มีประสิทธิภาพ[1][2][3]

ใกล้เคียง

วัคซีนโควิด-19 วัคซีนโควิด-19 ของไฟเซอร์-ไบออนเทค วัคซีนโควิด-19 ของออกซฟอร์ด-แอสตร้าเซนเนก้า วัคซีนเชื้อลดฤทธิ์ วัคซีน วัคซีนโควิด-19 ของโมเดอร์นา วัคซีนอาร์เอ็นเอ วัคซีนโควิด-19 สปุตนิกวี วัคซีนโควิด-19 BBIBP-CorV ของซิโนฟาร์ม วัคซีนโควิด-19 ของจอห์นสันแอนด์จอห์นสัน

แหล่งที่มา

WikiPedia: วัคซีนเชื้อตาย http://www.nature.com/icb/journal/v82/n5/full/icb2... http://pathmicro.med.sc.edu/ghaffar/immunization-v... http://www.ema.europa.eu/docs/en_GB/document_libra... //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/15479434 http://www.vaccines.gov/more_info/types/ //doi.org/10.1111%2Fj.0818-9641.2004.01272.x //www.worldcat.org/issn/0818-9641 https://www.who.int/biologicals/vaccines/influenza... https://web.archive.org/web/20130609071759/http://... https://api.semanticscholar.org/CorpusID:154670