วันหยุดในประเทศลาว

วันหยุดนักขัตฤกษ์ในลาวและเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ปีต่อๆ ไปทำนาเกิดผลดียิ่งๆ ขึ้น
ให้ทั่วแล้วย่างจนไข่สุกและถอดไม้เสียบออกนำน้ำตาลอ้อยยัดตรงกลางเป็นไส้ นำถวายพระสงฆ์ในช่วงที่หมดฤดูทำนาแล้ว เพื่อเป็นการทำบุญ
ดอกไม้ ใบพลู ธูป เทียน ดอกดาวเรือง ผมและเล็บของผู้ลอย และอธิษฐานให้ทุกข์โศกโรคภัยลอยไปกับกระทง- วันที่สอง เรียกว่า “วันเนา” ช่วงเช้ามีการแห่รูปหุ่นเชิด ปู่เยอย่าเยอ และสิงห์แก้ว สิงห์คำ ช่วงบ่ายขบวนแห่ซึ่ง นำโดยปู่เยอ ย่าเยอ ผู้เฒ่าผู้แก่ หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้าน ขบวนพระสงฆ์ นางสงกรานต์ (นางวอ) ขี่สัตว์ พาหนะบนรถแห่ ปู่เยอย่าเยอก็จะฟ้อนรำ อวยพรให้ลูกหลาน- วันที่สาม เรียกว่า “วันสังขารขึ้น” ชาวหลวงพระบางทำข้าวเหนียวนึ่งและนมลูกกวาด ลูกอม พากันเดินขึ้นภูษี ภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระบาง ระหว่างเดินจะวางข้าวเหนียว และขนมไว้ตามหัวเสาบันไดจนถึงองค์พระธาตุ วิธีการนี้เรียกว่าเป็นการตักบาตรภูษี มีการโยนข้าวและอัญเชิญศีรษะท้าวกบิลพรหมจากวัดเชียงทองไปยังวัดวิชุน มีการสรงน้ำพระที่วัดวิชุน- วันที่สี่ นับเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งมีการแห่พระบาง พระพุทธรูปคู่เมืองหลวงพระบาง ปีหนึ่งจะอันเชิญออกมาให้ ชาวเมืองสรงน้ำ พระบางนี้จะประดิษฐานอยู่ที่วัดใหม่เป็นเวลา 3วัน 3คืน จากนั้นจะอัญเชิญกลับ หอพิพิธภัณฑ์เหมือนเดิม
มีการทำบุญบั้งไฟ เชื่อว่าปีนั้นจะเกิดเภทภัยต่างๆ และเป็นสัญญาณว่าฤดูกาลทำนากำลังจะเริ่มต้นแล้ว นับเป็นงานที่กระทำกันมาแต่โบราณ
“ส่วง” หมายถึง “แข่งขัน”“เฮือ” หมายถึง “เรือ”เป็นงานบุญแข่งเรือประจำเดือนเก้า ทุกคุ้ม (หมู่บ้าน) จะนำเรือเข้าแข่งขัน ในอดีตการแข่งเรือถือเป็นการฝึกซ้อมฝีพายเพื่อต่อสู้ข้าศึกที่มาทางน้ำ ปัจจุบันนับเป็นงานบุญที่สนุกสนานงานหนึ่งของชาวหลวงพระบาง

ใกล้เคียง

วันหยุดในประเทศอินเดีย วันหยุดในประเทศลาว วันหยุดของคาซูมิ อาริมูระ วันหยุดในประเทศพม่า วันหยุดราชการ วันหยุดในประเทศฝรั่งเศส วันหยุดในประเทศยูเครน วันหยุดในประเทศไซปรัส วันหยุดในประเทศลัตเวีย วันหยุดในประเทศแอลเบเนีย