การตีความและจุดประสงค์ ของ วีนัสแห่งวิลเลนดอร์ฟ

รูปสลักคล้ายกันถูกค้นพบในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ถูกเรียกว่า "จุลประติมากรรมวีนัส" ในโบราณคดี ด้วยความเชื่อที่ว่ารูปเลียนแบบผู้หญิงเปลือยที่มีลักษณะทางเพศที่โดดเด่นเกินจริงมักเป็นตัวแทนของเครื่องรางความอุดมสมบูรณ์ โดยน่าจะแสดงถึงพระแม่ (mother goddess) การใช้คำว่าวีนัสเป็นเพียงการอุปมา ด้วยจุลประติมากรรมชิ้นนี้มาก่อนวีนัสที่เป็นเทพเจ้าโรมันหลายพันปี นักวิชาการบางคนไม่ยอมรับชื่อนี้ และเรียกรูปสลักว่า "ผู้หญิงแห่ง" หรือ "ผู้หญิงจากวิลเลนดอร์ฟ"[7]

แหล่งที่มา

WikiPedia: วีนัสแห่งวิลเลนดอร์ฟ http://www.landesmuseum.at/pdf_frei_remote/WM_19_0... http://witcombe.sbc.edu/willendorf/ http://witcombe.sbc.edu/willendorf/willendorfdisco... http://smarthistory.khanacademy.org/nude-woman-ven... //tools.wmflabs.org/geohack/geohack.php?pagename=%... https://www.britannica.com/topic/Venus-of-Willendo... https://web.archive.org/web/20080612030451/http://... https://web.archive.org/web/20171204194213/http://... https://commons.wikimedia.org/wiki/Venus_of_Willen... https://books.google.co.uk/books?id=6_0Y0PALzQMC&p...