สถานีย่อย:ประวัติศาสตร์

ประวัติศาสตร์ เป็นการศึกษาเหตุการณ์ในอดีต ซึ่งมีขั้นตอนประกอบด้วยการค้นหา รวบรวม จัดระเบียบและนำเสนอสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง การศึกษาประวัติศาสตร์มีความสำคัญ เพราะเสมือนเป็นการให้ "มุมมอง" แก่ปัญหาในปัจจุบัน นักปราชญ์ จอร์จ ซานตายานา ได้กล่าวไว้ว่า "ผู้ที่ไม่สามารถจดจำอดีตได้จะถูกลงโทษให้ซ้ำรอยมัน"การศึกษาประวัติศาสตร์ของมนุษย์มักเริ่มตั้งแต่ชาวสุเมเรียนคิดค้นอักษรคูนิฟอร์ม (ในภาพ) เมื่อราว 2,500 ปีก่อนคริสตศักราช จากนั้น เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ก็ปรากฏหลักฐานเรื่อยมา ตั้งแต่ยุคโบราณจนถึงปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นวีรกรรม ราชวงศ์ ความเจริญและความเสื่อม หรือจะเป็นโศกนาฏกรรม เช่น การพิชิตสามทวีปของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช, วิถีชีวิตแห่งยุคกลาง ซึ่งประกอบด้วยเจ้า ข้าและอัศวิน, การปฏิวัติฝรั่งเศสอันนำมาซึ่งความเจริญของสาธารณรัฐทั้งหลาย หรือสงครามโลกครั้งที่สองที่ปรากฏความรุนแรงอย่างที่โลกไม่เคยเห็นมาก่อนฉะนั้น เราจึงควรศึกษาประวัติศาสตร์ไว้เป็นบทเรียนและอุทาหรณ์ เพื่อนำมาเป็นแบบอย่างหรือหลีกเลี่ยง หรืออาจกล่าวได้ว่า เพื่อมิให้ "ประวัติศาสตร์ซ้ำรอย" ประเทศที่มี สมเด็จพระราชาธิบดี และ สมเด็จพระราชินี ตอบรับคำกราบบังคมทูลเชิญ เสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศไทย ของรัฐบาลไทย เพื่อร่วมถวายพระพร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ในวโรกาส งานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๔๙ อย่างเป็นทางการ จำนวน ๒๕ ประเทศ โดยมี สมเด็จพระราชาธิบดี และ สมเด็จพระราชินี ที่จะเสด็จฯ มาด้วยพระองค์เอง จำนวน ๑๓ ประเทศ ทั้งนี้ ประเทศที่มี สมเด็จพระราชาธิบดี และ สมเด็จพระราชินี เป็นประมุข มีจำนวนทั้งหมด ๒๙ ประเทศ นับเป็นการชุมนุมของพระประมุข จากประเทศต่างๆ มากที่สุดในโลก อ่านต่อ...หากคุณตอบคำถามของเราได้ทุกข้อ เราขอปรบมือให้ :พระมหากษัตริย์ไทยพระองค์ใดทรงโปรดให้สร้างหอนาฬิกาแห่งแรกของประเทศไทยขึ้น และหอนาฬิกานั้นถูกสร้างก่อนหอนาฬิกาบิกเบนกี่ปีพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างหอนาฬิกาที่พระที่นั่งภูวดลทัศไนยขึ้นเป็นหอนาฬิกาแห่งแรกของประเทศไทย ซึ่งสร้างก่อนหอนาฬิกาบิกเบนที่ลอนดอนถึง 2 ปี นี่นับว่าเป็นความสำเร็จทางเทคโนโลยีอันน่าจดจำยิ่งของชนชาวไทย ที่มีหอนาฬิกาที่ถูกสร้างขึ้นก่อนหอนาฬิกาที่โด่งดังที่สุดในโลกถึง 2 ปี และจากที่หอนาฬิกานี้เองที่ประเทศไทยมีเวลามาตรฐานสากลเป็นของตนเองแห่งแรกของโลก (Bangkok Mean Time) ซึ่งกำเนิดขึ้นก่อนหน้าที่จะมีการตกลงการวัดเวลากันที่กรินีช ลอนดอน นับเป็นพระอัจฉริยภาพของพระองค์อย่างแท้จริง (อ่านเพิ่มเติม...)เรือไททานิกจมลง ก่อน หรือ หลัง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จประพาสยุโรปครั้งแรก และ เหตุการณ์นั้นเกิด ก่อน หรือ หลัง ที่พระองค์เสด็จประพาสยุโรปครั้งแรก กี่ปีรัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสยุโรปครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2440 แต่ เรือไททานิก จมลงเมื่อปี พ.ศ. 2454 ดังน้ัน ร.5 จึงเสด็จก่อนที่เรือไททานิกจมลง 14ปีพระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว(ขวา) สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี(กลาง) และ พระเชษฐาธิราช ทรงฉายระหว่างการเสด็จนิวัติพระนครเมื่อปี พ.ศ. 2481 โดยมี กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ทรงเป็นผู้ฉายพระรูป สามารถเห็นพระองค์ในกระจกด้านหลัง ซึ่งพระองค์ได้ประทับนั่งอยู่ตรงข้าม และสมเด็จย่านั้นพระองค์ได้ประทับอยู่ทางซ้ายติดกับพระเชษฐาธิราช บทความคัดสรร บทความคุณภาพ บทความที่เคยถูกเสนอชื่อเป็นบทความคุณภาพนี่คือส่วนหนึ่งที่คุณทำได้
เจ้าฟ้ามหานคร กิตติชยกร ราชสำนักหลวงในโอกาสต่อ ๆ ไป หากมีคำถามไหนน่าสนใจ จะถูกนำขึ้นมาแสดงไว้ ณ ที่นี้
24 มิถุนายน: ดูเพิ่ม: 23 มิถุนายน24 มิถุนายน25 มิถุนายนจดหมายเหตุรายชื่อบทความวันนี้ในอดีต



อะไรคือสถานีย่อย ?

ใกล้เคียง

สถานี สถานีกลางบางซื่อ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) สถานีกรุงเทพ สถานีบางหว้า สถานีอวกาศนานาชาติ สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) สถานีวัดพระศรีมหาธาตุ สถานีวงเวียนใหญ่