สุริยุปราคา_24_ตุลาคม_พ.ศ._2538
สุริยุปราคา_24_ตุลาคม_พ.ศ._2538

สุริยุปราคา_24_ตุลาคม_พ.ศ._2538

สุริยุปราคาเต็มดวงที่เกิดขึ้นในวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2538 เป็นการที่ดวงจันทร์เคลื่อนเข้ามาบดบังดวงอาทิตย์ ทำให้เกิดเงามืดของดวงจันทร์บนพื้นโลก สุริยุปราคานี้สามารถมองได้ที่อิหร่าน อัฟกานิสถาน ปากีสถาน อินเดีย บังกลาเทศ เมียนมา กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และไทย ลาว จีน ตอนใต้ เกาหลีเหนือ เกาหลีใต้ และรอบมหาสมุทรแปซิฟิกการสังเกตการณ์สุริยุปราคาเต็มดวงเกิดขึ้นในประเทศอินเดีย[1] เมื่อเครื่องบินมิก 25 จากกองทัพอากาศอินเดีย และสามารถถ่ายภาพสุริยุปราคาซึ่งไกลได้ถึง 25 กิโลเมตร[2]

สุริยุปราคา_24_ตุลาคม_พ.ศ._2538

แซรอส 143
แกมมา 0.3518
ความส่องสว่าง 1.0213
บดบังมากที่สุด 4:33:30
ความกว้างของเงามืด 78 กิโลเมตร
บัญชี # (SE5000) 9498
ระยะเวลา 2 นาที 10 วินาที
พิกัด 8°25'0"N, 113°11'18"E

ใกล้เคียง

สุริยุปราคา สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ สุริยนต์ อรุณวัฒนกูล สุริยุปราคา 8 เมษายน พ.ศ. 2567 สุริยนันทนา สุจริตกุล สุริยา ชินพันธุ์ สุริยุปราคา 21 สิงหาคม พ.ศ. 2560 สุริยุปราคา 9 มีนาคม พ.ศ. 2559 สุริยะใส กตะศิลา สุริยุปราคา 21 มิถุนายน พ.ศ. 2563

แหล่งที่มา

WikiPedia: สุริยุปราคา_24_ตุลาคม_พ.ศ._2538 http://www.bharat-rakshak.com/IAF/aircraft/past/96... http://eclipse.gsfc.nasa.gov/SEcat5/SE.html http://www.komchadluek.net/news/today-in-history/2... https://mumdochata.blogspot.com/2014/06/24-2538.ht... https://books.google.com/?id=fe7XDuxCYjcC&lpg=PA15... https://news.mthai.com/general-news/482691.html https://web.archive.org/web/20160916084901/http://... https://web.archive.org/web/20170705033134/http://...