หนานหมาน
หนานหมาน

หนานหมาน

หนานหมาน (南蠻) เดิมเป็นชื่อเรียกของชนเผ่าบางกลุ่มในภาคใต้ของจีน โดย 3 ราชวงศ์ ในสมัยราชวงศ์เซี่ยจนถึงสมัยราชวงศ์โจว หรือ ชนชาติในที่ราบลุ่มภาคกลาง[1]ชนชาติฮั่น[2] ซึ่งวิวัฒนาการมาจากชนเผ่าต่าง ๆ ในจิ่วโจวสืบทอดชื่อนี้และใช้แทนชนชาติต่างชาติที่ไม่ใช่ชาวฮั่นในภาคใต้ ในมุมมองแบบเอาชาวจีนเป็นศูนย์กลางแล้ว ซีหรง, ตงอี๋, เป่ย์ตี๋ และหนานหมาน ถูกเรียกรวมกันว่าซื่ออี๋ (四夷)บางแนวคิดบ่งบอกให้เห็นว่าดินแดนของราชวงศ์ซ่งใต้ ในอดีตถูกชาวมองโกล เรียกว่า หมานจึกั๋ว (蠻子國) ซึ่งหมายถึงแดนเถื่อน[3] ส่วนชาวแมนจูเรียกชาวฮั่นว่า หมานจึ (蠻子)[4] และ กองทัพราชวงศ์ชิงเองก็เรียกชาวฮั่นว่า หมานจึ (蠻子)[5]

หนานหมาน

อักษรจีนตัวย่อ 南蛮
เป่อ่วยยีภาษาฮกเกี้ยน Lâm-bân
ยฺหวิดเพ็ง Naam4 Maan4
ปั่งงั่วเจ๋ย์ภาษาฮกจิว Nàng-màng
การถอดเสียงภาษาจีนกลางมาตรฐานฮั่นยฺหวี่พินอินภาษาแคะพักฟ้าซื้อภาษากวางตุ้งมาตรฐานยฺหวิดเพ็งภาษาหมิ่นใต้เป่อ่วยยีภาษาฮกเกี้ยนภาษาหมิ่นตะวันออกปั่งงั่วเจ๋ย์ภาษาฮกจิว
การถอดเสียง
ภาษาจีนกลางมาตรฐาน
ฮั่นยฺหวี่พินอินNánmán
ภาษาแคะ
พักฟ้าซื้อNàm-màn
ภาษากวางตุ้งมาตรฐาน
ยฺหวิดเพ็งNaam4 Maan4
ภาษาหมิ่นใต้
เป่อ่วยยีภาษาฮกเกี้ยนLâm-bân
ภาษาหมิ่นตะวันออก
ปั่งงั่วเจ๋ย์ภาษาฮกจิวNàng-màng
อักษรจีนตัวเต็ม 南蠻
พักฟ้าซื้อ Nàm-màn
ฮั่นยฺหวี่พินอิน Nánmán