พยัญชนะ ของ อักษรไทใหญ่

พยัญชนะหลัก

รูปอักษรไทใหญ่ชื่ออักษรในภาษาไทใหญ่เทียบรูปอักษรไทยสัทอักษรหมายเหตุ
ก้ะ ไก่ (ၵ ၵႆႇ)/k/ၵႆႇ = ไก่
ข้ะ ไข่ (ၶ ၶႆႇ)ข, ฃ, ค, ฅ/kʰ/ၶႆႇ = ไข่
ง่ะ งู้ (င ငူး)/ŋ/งู้ (ငူး) แปลว่า งู ในภาษาไทย
จ้ะ จ้าง (ၸ ၸၢင်ႉ)/t͡s/, /s/จ้าง (ၸၢင်ႉ) แปลว่า ช้าง
ส้ะ แสง (သ သႅင်)ซ, ศ, ษ, ส/sʰ/แสง (သႅင်) แปลว่า อัญมณี
ญ่ะ หญ่อง (ၺ ၺွင်ႇ)ญ, ย/ɲ/เสียง /ญ/ ในที่นี้เป็นเสียงนาสิก (เสียงขึ้นจมูก) แบบเดียวกับที่ปรากฏในภาคอีสาน และภาคเหนือของไทย, หญ่อง (ၺွင်ႇ) แปลว่า ต้นโพธิ์ (มาจากภาษาพม่า ညောင်)
ต้ะ เต่าฏ, ต/t/
ถ้ะ ไถฐ, ถ, ท, ฑ/tʰ/ไถ แปลว่า คันไถ
น่ะ หนูน, ณ/n/
ป้ะ ป๋า/p/ป๋า แปลว่า ปลา ในภาษาไทย
ผ้ะ ผิ้งผ, พ/pʰ/
ฟ่ะ ไฟฝ, ฟ/f/, /pʰ/ไฟ แปลว่า ไฟ
ม่ะ แม้/m/แม้ แปลว่า แม่
ย่ะ ยุ้งย, ญ/j/ยุ้ง แปลว่า ยุง
ร่ะ ร่ะฮ้านร, ฤ/r/, /l/ร่ะฮ้าน = พระสงฆ์, มาจากภาษาพม่า ရဟန်း, จากภาษาบาลี อรหนฺตฺ
ล่ะ ลิ้งล, ฦ, ฬ/l/ลิ้ง แปลว่า ลิง
ว่ะ เว้ง (เสียงสั้น)/w/เว้ง แปลว่า เวียง
ห้ะ หิ่งห, ฮ/h/หิ่ง แปลว่า ระฆัง
อ้ะ อ่าง/ʔ/

พยัญชนะเสริม

รูปอักษรไทใหญ่ชื่ออักษรในภาษาไทใหญ่เทียบรูปอักษรไทยสัทอักษรหมายเหตุ
ก้ะ/g/ก ก้อง คำยืมจากพม่า
บ้ะ/b/คำยืมจากไทยและพม่า
ด้ะ/d/คำยืมจากไทยและพม่า
ธ้ะ/θ/ส แลบลิ้น คำยืมจากพม่า