ภูมิหลัง ของ อุบัติเหตุทางรังสีที่สมุทรปราการ

โคบอลต์-60 (60Co) เป็นไอโซโทปกัมมันตรังสีของโคบอลต์ มีครึ่งชีวิต 5.27 ปี และปลดปล่อยรังสีแกมมาที่มีความสามารถในการทะลุทะลวงสูง มักใช้ในการรังสีรักษา ฆ่าเชื้อในสถานพยาบาลและในอุตสาหกรรมต่าง ๆ อุปกรณ์ที่เป็นต้นเหตุของอุบัติเหตุในครั้งนี้เป็นเครื่องรักษาด้วยรังสีจากภายนอก Gammatron-3[3][6] ผลิตโดยบริษัทซีเมนส์และนำเข้ามาในประเทศไทยในปี 2512 ได้รับอนุญาตและติดตั้งที่โรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร[7] ต้นกำเนิดรังสีที่เกี่ยวข้องกับอุบัติเหตุเป็นอุปกรณ์ทดแทนที่ติดตั้งใหม่ใน พ.ศ. 2524 โดยมีการแผ่รังสีเริ่มแรกอยู่ที่ 196 เทระเบ็กเคอเรล[3][8] แต่ในช่วงที่เกิดอุบัติเหตุมีการแผ่รังสีอยู่ที่ 15.7 เทระเบ็กเคอเรล[3]

ใกล้เคียง

อุบัติเหตุนิวเคลียร์เกาะทรีไมล์ อุบัติรักเกาะสวรรค์ อุบัติรักข้ามขอบฟ้า (ละครโทรทัศน์ปี 2562) อุบัติการณ์และอุบัติเหตุบนเที่ยวบินการบินไทย อุบัติการณ์มุกเดน อุบัติรักเทวา อุบัติเหตุ อุบัติการณ์สุสานโกเบงเหลง อุบัติการณ์ 28 กุมภาพันธ์ อุบัติรักข้ามขอบฟ้า 2

แหล่งที่มา

WikiPedia: อุบัติเหตุทางรังสีที่สมุทรปราการ //doi.org/10.1148%2F84-4-767 http://www.earththailand.org/th/pollution/13 http://enlawfoundation.org/newweb/wp-content/uploa... http://www.iaea.org/Publications/Magazines/Bulleti... http://radiology.rsna.org/content/84/4/local/front... //tools.wmflabs.org/geohack/geohack.php?pagename=%... http://envocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/A-R... https://www.youtube.com/watch?v=M9mDOOou5CQ&t=1020... https://web.archive.org/web/20100718065554/http://... https://www.thairath.co.th/content/45126