เขตสงครามตะวันออกกลางในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
เขตสงครามตะวันออกกลางในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

เขตสงครามตะวันออกกลางในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

แม่แบบ:Country data Democratic Republic of Armenia Armenia (from 1918)
แม่แบบ:Country data Arab Revolt Hejaz (from 1916)
 ราชอาณาจักรอิตาลี (from 1915)
Nejd and Hasa (from 1915)
Asir (from 1915)เขตสงครามตะวันออกกลางในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ซึ่งได้แสดงให้เห็นในการรบในช่วงระหว่างวันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1914 และ 30 ตุลาคม ค.ศ. 1918 ฝ่ายที่ได้ทำการรบ ฝ่ายหนึ่งคือจักรวรรดิออตโตมัน(รวมทั้งชาวเคิร์ดและเผ่าชาวอาหรับบางส่วน) ด้วยความช่วยเหลือจากประเทศอื่นๆในฝ่ายมหาอำนาจกลาง และอีกฝ่ายคือ บริติช (ด้วยความช่วยเหลือของชาวยิว ชาวกรีก ชาวอัสซีเรีย และชาวอาหรับส่วนใหญ่ พร้อมกับชาวอินแดียซึ่งอยู่ภายใต้จักรวรรดิของตน) รัสเซีย(กับความช่วยเหลือของชาวอาร์มีเนีย) และฝรั่งเศสจากบรรดาประเทศต่างๆ ในมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตร มีการทัพหลัก 5 การทัพ ได้แก่ การทัพไซนายและปาเลสไตน์ การทัพเมโสโปเตเมีย การทัพคอเคซัส การทัพเปอร์เซีย และการทัพกัลลิโพลี นอกจากนี้ยังมีการทัพขนาดย่อยอีกหลายการทัพ: การทัพอาหรับ และการทัพอาระเบียทางใต้ทั้งสองฝ่ายต่างใช้กองกำลังแบบอสมมาตรในพื้นที่ภูมิภาค ฝ่ายที่อยู่ข้างฝ่ายสัมพันธมิตรคือชาวอารับที่เข้าร่วมในกบฏอาหรับและกองกำลังอาสาสมัครชาวอาร์มีเนีย ที่เข้าร่วมในขบวนการฝ่ายต่อต้านชาวอาร์มีเนียในช่วงการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวอาร์มีเนีย พร้อมกับหน่วยทหารอาสาสมัครชาวอาร์มีเนีย กองกำลังอาสาสมัครชาวอาร์มีเนียได้ก่อตั้งกองพลน้อยแห่งสาธารณรัฐอาร์มีเนียที่หนึ่งในปี ค.ศ. 1918 นอกจากนั้น ชาวอัสซีเรียได้เข้าร่วมฝ่ายสัมพันธมิตร ภายหลังจากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวอัสซีเรีย เพื่อส่งเสริมให้เกิดสงครามประกาศอิสรภาพอัสซีเรีย เขตสงครามนี้ได้ครอบคลุมอาณาเขตที่ใหญ่ที่ในเขตสงครามทั้งหมดในสงครามการมีส่วนร่วมของรัสเซียในเขตสงครามนี้ได้สิ้นสุดลงอันเป็นผลมาจากการสงบศึกที่แอร์ซินจัน (5 ธันวาคม ค.ศ. 1917) ภายหลังจากที่รัฐบาลฝ่ายปฏิวัติรัสเซียได้ถอนตัวออกจากสงครามภายใต้เงื่อนไขของสนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์ (3 มีนาคม ค.ศ. 1918) อาร์มีเนียได้เข้าร่วมการประชุมสันติภาพที่ทรับซอน (14 มีนาคม ค.ศ. 1918) ซึ่งส่งผลให้เกิดสนธิสัญญาบาตัม เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน ค.ศ. 1918 ออตโตมันได้ยอมรับการสงบศึกที่ Mudros กับฝ่ายสัมพันธมิตร เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม ค.ศ. 1918 และลงนามสนธิสัญญาเซเวร์ เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม ค.ศ. 1920 และต่อมาคือ สนธิสัญญาโลซาน เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม ค.ศ. 1923

เขตสงครามตะวันออกกลางในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

วันที่สถานที่ผลลัพธ์ดินแดนเปลื่ยน
วันที่30 ตุลาคม ค.ศ. 1914 – 30 ตุลาคม ค.ศ. 1918
(4 ปี)
สถานที่ตะวันออกกลาง (คอเคซัส, คาบสมุทรไซนาย, ปาเลสไตน์, ซีเรีย, จอร์แดน, อิหร่าน, กัลลิโพลี, คาบสมุทรอาหรับ, อ่าวเปอร์เซีย, เมโสโปเตเมีย, เปอร์เซีย)
ผลลัพธ์ฝ่ายสัมพันธมิตรชนะ
ดินแดน
เปลื่ยน
การแบ่งแยกจักรวรรดิออตโตมัน
สถานที่ ตะวันออกกลาง (คอเคซัส, คาบสมุทรไซนาย, ปาเลสไตน์, ซีเรีย, จอร์แดน, อิหร่าน, กัลลิโพลี, คาบสมุทรอาหรับ, อ่าวเปอร์เซีย, เมโสโปเตเมีย, เปอร์เซีย)
ผลลัพธ์ ฝ่ายสัมพันธมิตรชนะ
ดินแดนเปลื่ยน การแบ่งแยกจักรวรรดิออตโตมัน
วันที่ 30 ตุลาคม ค.ศ. 1914 – 30 ตุลาคม ค.ศ. 1918
(4 ปี)

ใกล้เคียง

เขตสงวนอินเดียน เขตสงครามตะวันออกกลางในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เขตสงวนแห่งชาติตัมโบปาตา เขตสงวนชีวมณฑล เขตสงวนชีวภาคมายา เขตสงครามเมดิเตอร์เรเนียนและตะวันออกกลางในสงครามโลกครั้งที่สอง เขตสงวนสัตวชาติอาบูแตลฟาน เขตสงครามตะวันออกของสงครามกลางเมืองอเมริกา เขตสาทร เขตสายไหม

แหล่งที่มา

WikiPedia: เขตสงครามตะวันออกกลางในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง http://www.sacktrick.com/igu/germancolonialuniform... https://ordu.az/az/news/140271/mk-qio-ile-isgalci-... https://books.google.com/books?id=52ID61vtVE4C&pg=... https://books.google.com/books?id=XUlsP0YuI1AC&pg=... https://books.google.com/books?id=iOoGH4GckQgC&pg=... https://books.google.com/books?id=l7-RZx_QIOsC&pg=... https://books.google.com/books?id=rpBbX3kdnhgC&pg=... https://web.archive.org/web/20080618180128/http://...