ประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องยนต์จรวด ของ เครื่องยนต์จรวด

เทคโนโลยีจรวดสามารถผสมผสานแรงผลักดันที่มีค่าสูงมากได้ (ขนาดเมกกะนิวตัน), ความเร็วไอเสียที่สูงมาก (ประมาณ 10 เท่าของความเร็วของเสียงในอากาศที่ระดับน้ำทะเล) และอัตราส่วนแรงผลักดัน/น้ำหนักที่มีค่าสูงมาก (> 100) พร้อม ๆ กันไปกับความสามารถในการทำงานนอกชั้นบรรยากาศได้, และในขณะที่อนุญาตให้ใช้ความดันต่ำและด้วยเหตุนี้จึงใช้ตัวถังและโครงสร้างที่มีน้ำหนักเบา

จรวดสามารถถูกปรับแต่งการทำงานเพิ่มเติมได้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานที่สุดขั้วได้มากยิ่งขึ้นตามจำนวนแนวแกนของจรวดขับดันที่ใช้ที่มีจำนวนหนึ่งแนวแกนหรือมากกว่านั้นโดยที่มีค่าใช้จ่ายที่เพิ่มมากขึ้นตามไปด้วยเป็นเงาตามตัว

แรงดลจำเพาะ

ดูบทความหลักที่: แรงดลจำเพาะ

ตัวชี้วัดประสิทธิภาพของเครื่องยนต์จรวดที่สำคัญที่สุดคือ แรงดลต่อหน่วยของเชื้อเพลิงจรวด สิ่งนี้เรียกว่าแรงดลจำเพาะ (specific impulse) (มักเขียนเป็น I s p {\displaystyle I_{sp}} ) นี้คือการวัดทั้งเป็นความเร็ว (ประสิทธิภาพความเร็วไอเสีย v e {\displaystyle v_{e}} เมตร/วินาที หรือ ฟุต/วินาที) หรือเป็นทั้งเวลา (วินาที) เครื่องยนต์ที่ให้แรงดลจำเพาะได้มากนั้นโดยปกติแล้วจะเป็นสิ่งที่พึงปรารถนาอย่างมาก

แรงดลจำเพาะที่สามารถบรรลุฟังก์ชันการทำงานส่วนใหญ่ของเชื้อเพลิงจรวดผสม (และในที่สุดจะมาเป็นตัวจำกัดแรงดลจำเพาะเอง), แต่ข้อจำกัดในทางปฏิบัติเกี่ยวกับความดันในห้องเผาไหม้และอัตราส่วนการขยายตัวของหัวฉีดจะเป็นตัวลดสมรรถนะการทำงานของเครื่องยนต์ที่สามารถจะทำได้

แรงขับดันสุทธิ

ด้านล่างคือ สมการโดยค่าประมาณสำหรับการคำนวณแรงขับดันสุทธิของเครื่องยนต์จรวด: [3]

F n = m ˙ v e = m ˙ v e − a c t + A e ( p e − p a m b ) {\displaystyle F_{n}={\dot {m}}\;v_{e}={\dot {m}}\;v_{e-act}+A_{e}(p_{e}-p_{amb})}
เมื่อ: 
m ˙ {\displaystyle {\dot {m}}} =  การไหลเชิงมวลของก๊าซไอเสีย
v e {\displaystyle v_{e}} =  ประสิทธิภาพความเร็วไอเสีย
v e − a c t {\displaystyle v_{e-act}} =  ความเร็วเจ็ทไอเสียที่แท้จริงที่ทางออกของหัวฉีดเครื่องยนต์
A e {\displaystyle A_{e}} =  พื้นที่การไหลที่ทางออกของหัวฉีดเครื่องยนต์ (หรือเครื่องยนต์ที่มีเจ็ทไอเสียที่ไหลออกจากหัวฉีดถ้าหากมีการแยกการไหล)
p e {\displaystyle p_{e}} =  ความดันสถิตที่ทางออกของหัวฉีดเครื่องยนต์
p a m b {\displaystyle p_{amb}} =  ความดันสภาพแวดล้อมโดยรอบ (หรือความดันบรรยากาศ)

เนื่องจาก, มีความแตกต่างจากเครื่องยนต์ไอพ่น, เครื่องยนต์จรวดแบบดั้งเดิมจะปราศจากระบบควบคุมอากาศเข้าสู่ห้องเผาไหม้ (air intake), [4] ที่จะไม่มี 'แรมฉุดลาก' (ram drag) ที่จะเป็นตัวหักลบออกจากแรงผลักดันโดยรวม ดังนั้นแรงผลักดันสุทธิของเครื่องยนต์จรวดจะเท่ากับแรงผลักดันขั้นต้น (นอกเหนือจากความดันย้อนกลับคงที่)

ถ้าหากความดันของเจ็ทไอเสียมีความแตกต่างจากความดันบรรยากาศ, หัวฉีดสามารถจะกล่าวได้ว่าเป็นเหมือนกับภาพที่เห็น (จากบนลงล่าง):
การขยายตัวของเจ็ทไอเสียภายใต้ความดันบรรยากาศ
การขยายตัวของเจ็ทไอเสียที่ความดันบรรยากาศ
การขยายตัวของเจ็ทไอเสียเหนือความดันบรรยากาศ
การขยายตัวของเจ็ทไอเสียเหนือความดันบรรยากาศอย่างไม่เหมาะสม
หากการขยายตัวของเจ็ทไอเสียอยู่ภายใต้หรือเหนือกว่าความดันบรรยากาศแล้วการสูญเสียของประสิทธิภาพความเร็วไอเสียจะเกิดขึ้น หัวฉีดที่มีการขยายตัวของเจ็ทไอเสียอย่างไม่เหมาะสมนั้น จะทำให้มีการสูญเสียประสิทธิภาพของความเร็วไอเสียที่น้อยกว่า แต่อาจทำให้เกิดปัญหาทางกลเกิดขึ้นกับหัวฉีดได้ อย่างไรก็ตามหัวฉีดที่มีการขยายตัวของเจ็ทไอเสียเหนือความดันบรรยากาศเพียงเล็กน้อยจะสามารถผลิตแรงขับดันได้มากขึ้นกว่าหัวฉีดที่มีการขยายตัวของเจ็ทไอเสียอย่างวิกฤตถ้าการจัดจำแนกแบ่งแยกขอบเขตของชั้นบรรยากาศขณะที่เครื่องยนต์กำลังทำงานอยู่ไม่ได้ทำให้เกิดมีขึ้น จรวดจะทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพได้มากขึ้นเมื่อเครื่องยนต์นั้นมีการทำงานที่มีการขยายตัวของเจ็ทไอเสียในหัวฉีดเกิดขึ้นอยู่ภายใต้ความดันบรรยากาศตามระดับความสูงที่มันอยู่ โปรดสังเกตว่าเกือบทุกเครื่องยนต์จรวดจะมีการขยายตัวของเจ็ทไอเสียเหนือความดันบรรยากาศอย่างไม่เหมาะสมชั่วขณะในช่วงระหว่างการเริ่มต้นทำงานในชั้นบรรยากาศ[5]

Isp สุญญากาศ

เนื่องจากแรงดลจำเพาะมีความแตกต่างกันที่ความดัน, เป็นปริมาณที่ง่ายต่อการเปรียบเทียบและคำนวณที่จะเป็นประโยชน์ยิ่งขึ้น เพราะโช้คจรวดที่ตรงส่วนคอคอดและเพราะก๊าซไอเสียความเร็วเหนือเสียงจะช่วยป้องกันไม่ให้ความดันภายนอกมีอิทธิพลต่อการเดินทางสวนกระแสกับก๊าซไอเสีย

การบีบอัดก๊าซไอเสีย

จรวดสามารถบีบอัดก๊าซไอเสียได้ โดยการควบคุมอัตราการเผาไหม้เชื้อเพลิงจรวด m ˙ {\displaystyle {\dot {m}}} (มักจะวัดในหน่วยกิโลกรัม/วินาที หรือปอนด์/วินาที) ในจรวดเชื้อเพลิงเหลวและจรวดไฮบริด, เชื้อเพลิงจรวดจะไหลเข้าสู่ห้องเผาไหม้ที่มีการควบคุมโดยการใช้วาล์ว, ในจรวดเชื้อเพลิงแข็งมันจะถูกควบคุมโดยการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ของเชื้อเพลิงจรวดที่ถูกเผาไหม้และนี่สามารถถูกออกแบบให้เป็นแบบเม็ดเชื้อเพลิงจรวด (propellant grain) (และด้วยเหตุนี้จึงไม่สามารถควบคุมได้ในแบบเรียลไทม์)

อัตราส่วนแรงขับดันต่อน้ำหนัก

ในเครื่องยนต์จรวด, มันคือทั้งหมดทุก ๆ อย่างของเครื่องยนต์เจ็ท โดยแท้ที่จริงแล้วจัดว่าเป็นธรรมชาติของเครื่องยนต์ทุก ๆ ชนิด, ที่จะมีอัตราส่วนของแรงผลักดันต่อน้ำหนักที่สูงที่สุด นี่คือหลักความจริงโดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับเครื่องยนต์จรวดเชื้อเพลิงเหลว

แม่แบบ:Engine thrust to weight table

ใกล้เคียง

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า เครื่องบินขับไล่ เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เครื่องคิดเลข เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์