เครื่องหมายวรรคตอนภาษาไทย ของ เครื่องหมายวรรคตอน

ในเอกสารโบราณของไทยมีเครื่องหมายวรรคตอนของไทยอยู่หลายตัว และบางตัวนิยมใช้มาถึงปัจจุบัน โดยแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มตามเกณฑ์การใช้งาน ดังนี้

  1. เครื่องหมายกำกับเสียง ได้แก่
    1. ไม้ยมก: ใช้เพื่อซ้ำเสียงเดิม
    2. ทัณฑฆาต: ใช้เพื่อฆ่าเสียง หรือเพื่อไม่ออกเสียงพยัญชนะที่กำกับไว้
    3. ยามักการ: ใช้เพื่อควบกล้ำเสียงพยัญชนะ
  2. เครื่องหมายกำกับวรรคตอน ได้แก่
    1. ไปยาลน้อย: ใช้ย่อคำ
    2. ไปยาลใหญ่: ใช้ละข้อความ
    3. ฟองมัน: ใช้ขึ้นต้นข้อความ
    4. อังคั่นเดี่ยว (ขั้นเดี่ยว): ใช้เขียนเมื่อจบประโยค หรือเป็นเครื่องหมายบอกวันเดือนทางจันทรคติ
    5. อังคั่นคู่ (ขั้นคู่): ใช้เขียนเมื่อจบข้อความใหญ่ หรือจบตอน
    6. อังคั่นวิสรรชนีย์: ใช้เขียนเมื่อจบเรื่อง
    7. โคมูตร: ใช้เมื่อสิ้นสุดข้อความ หรือบทกลอน
    8. มหัพภาค: ใช้ย่อคำ
    9. เสมอภาค: ไช้สำหรับตัวเลขที่เท่ากัน

หรือแบ่งเป็น 2 กลุ่มตามเกณฑ์ที่มา

    1. เครื่องหมายวรรคตอนที่เป็นของไทยแต่เดิม ได้แก่ ตาไก่ โคมูตร เป็นต้น
    2. เครื่องหมายวรรคตอนที่รับอิทธิพลการเขียนจากต่างประเทศ เช่น จุลภาค มหัพภาค เป็นต้น
บทความเกี่ยวกับภาษานี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ภาษา

ใกล้เคียง

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า เครื่องบินขับไล่ เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เครื่องคิดเลข เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์