การวิจัยและพัฒนาเชื้อเพลิงสาหร่าย ของ เชื้อเพลิงสาหร่าย

การวิจัยในปัจจุบันทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ ต่างมุ่งเด้นด้าน

  • การคัดเลือกสายพันธุ์สาหร่ายที่มีศักยภาพสูง ทั้ง มหสาหร่าย (macro algae) และ จุลสาหร่าย (micro algae)
  • กระบวนการผลิตเพาะเลี้ยงที่มีความเหมาะสมทั้งปริมาณผลผลิตและช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม
  • กระบวนการสกัดสารจากสาหร่ายที่มีผลิตภาพสูง
  • กระบวนการแปรสภาพเป็นพลังงานที่ใหอัตราการผลิตสูง

ปี2007 มีการวิจัย การผลิตไบโอดีเซลจากสาหร่าย (Biodiesel Production from Algae) โดยคณะวิจัยของภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ [1][2][3]

31 มีนาคม ปี2011 มีการลงนามเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพจากสาหร่าย ระหว่างกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน บ.บางจากปิโตรเลียม (มหาชน) บ.ผลิตไฟฟ้าราชบุรี โฮลดิ้ง บ.ล็อกซ์เลย์ โดยรมต.กระทรวงพลังงาน นพ.วรรณรัตน์ ชาญนุกูลเป็นประธาน[4]

ใกล้เคียง

เชื้อเพลิง เชื้อชาติ เชื้อเพลิงชีวภาพ เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ เชื้อเพลิงไฮโดรเจน เชื้อเพลิงสาหร่าย เชื้อ ทิพย์มณี เชื้อเพลิงเอทานอล เชื้ออสุจิน้อย