เบริลเลียม
เบริลเลียม

เบริลเลียม

เบริลเลียม (อังกฤษ: Beryllium) เป็นธาตุในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ Be และเลขอะตอม 4 เป็นธาตุไบวาเลนต์ที่มีพิษ น้ำหนักอะตอม 9.0122 amu จุดหลอมเหลว 1287°C จุดเดือด (โดยประมาณ) 2970°C ความหนาแน่น (จากการคำนวณ) 1.85 g/cm3 เลขออกซิเดชันสามัญ + 2 เบริลเลียมเป็นโลหะแอลคาไลน์เอิร์ธ มีสีเทาเหมือนเหล็ก แข็งแรง น้ำหนักเบา แต่เปราะ ซึ่งส่วนใหญ่ใช้เป็นตัวที่ทำให้โลหะผสมแข็งขึ้น (โดยเฉพาะทองแดงเบริลเลียม)

เบริลเลียม

การออกเสียง /bəˈrɪliəm/ bə-ril-ee-əm
หมู่ คาบและบล็อก 2 (โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท), 2, s
โครงสร้างผลึก เฮกซะโกนัลปิดบรรจุ

มวลอะตอมมาตรฐาน 9.0121831(5)
มอดุลัสของยัง 287 GPa
รัศมีวานเดอร์วาลส์ 153 pm
เลขทะเบียน CAS 7440-41-7
สถานะ ของแข็ง
การแยกครั้งแรก Friedrich Wöhler & Antoine Bussy (1828)
จุดหลอมเหลว 1560 K, 1287 °C, 2349 °F
รัศมีอะตอม 112 pm
อัตราส่วนปัวซอง 0.032
ความเป็นแม่เหล็ก ไดอะแมกเนติก
ความหนาแน่นของเหลวที่จุดหลอมเหลว 1.690 g·cm−3
ไอโซโทปNAครึ่งชีวิตDMDE (MeV)DP
ไอโซโทปNAครึ่งชีวิตDMDE (MeV)DP
7Betrace53.12 dε0.8627Li
γ0.477-
9Be100%Be เสถียร โดยมี 5 นิวตรอน
10Betrace1.36×106 yβ−0.55610B
พลังงานไอออไนเซชัน ค่าที่ 1: 899.5 kJ·mol−1
โมดูลัสของแรงบีบอัด 130 GPa
สถานะออกซิเดชัน 2, 1[1]
(amphoteric oxide)
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) 1.85 g·cm−3
สภาพนำไฟฟ้า (20 °C) 36 nΩ·m
ความร้อนของการหลอมเหลว 12.2 kJ·mol−1
ความร้อนของการกลายเป็นไอ 297 kJ·mol−1
ชื่อ สัญลักษณ์ และเลขอะตอม เบริลเลียม, Be, 4
อิเล็กโตรเนกาติวิตี 1.57 (Pauling scale)
จุดวิกฤต (extrapolated)
5205 K, MPa
รัศมีโควาเลนต์ 96±3 pm
การค้นพบ Louis Nicolas Vauquelin (1797)
การจัดเรียงอิเล็กตรอน [He] 2s2
2, 2
ชั้นพลังงานอิเล็กตรอนของเบริลเลียม (2, 2)
ความแข็งของบริเนลล์ 600 MPa
ความจุความร้อนโมลาร์ 16.443 J·mol−1·K−1
ความเร็วเสียง (thin rod) (ที่ r.t.) 12890[2] m·s−1
ความแข็งวิกเกอร์ส 1670 MPa
ความแข็งของโมส์ 5.5
การขยายตัวจากความร้อน (25 °C) 11.3 µm·m−1·K−1
จุดเดือด 2741 K, 2468 °C, 4474 °F
สภาพนำความร้อน 200 W·m−1·K−1
โมดูลัสของแรงเฉือน 132 GPa
อนุกรมเคมี โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท