เรือหลวงภูมิพลอดุลยเดช
เรือหลวงภูมิพลอดุลยเดช

เรือหลวงภูมิพลอดุลยเดช

• 1 x เรดาร์ตรวจการณ์ 3 มิติระยะไกลแบบ Saab SEA GIRAFFE ER• 1 x เรดาร์ตรวจการณ์ 3 มิติระยะปานกลางแบบ Saab SEA GIRAFFE AMB• 3 x เรดาร์เดินเรือ• 1 x กล้องตรวจการณ์• 1 x DSQS-24 Atlas Hull Mounted Sonar• 1 x ACTAS Atlas ELEKTRONIK Towed Array Sonar• 2 x IFF• 1 x ADS-Bระบบเรือ= • เทคโนโลยีสเตลท์• Rader Cross Section Reduction• Infrared Reduction• Underwater Radiated Noise Reduction• Degaussing• NBC Protection Systemระบบอำนวยการรบ= 15 x Multi-Function Consoles แบบ Saab 9LV Mk4ระบบควบคุมการยิง= • 2 x เรดาร์ควบคุมการยิงแบบ Saab CEROS 200• 2 x Continuous Wave Illuminators• 1 x Saab EOS 500 Electro Optical Fire Control• 1 x Radar ESM• 1 x Communication ESM• 6 x Decoy Launchers• Active-off board ECM• 1 x ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 Super Rapid ขนาด 76 มม./62 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว ระยะยิง 16 กม. เมื่อใช้กระสุน standard ammunition. 20 กม. เมื่อใช้ กระสุน extended range ammunition. 40 กม. เมื่อใช้กระสุน VULCANO ammunition.• 8 x Advance Harpoon Weapon Control System: RGM/AGM-84L (Block 2) ระยะยิง 278 กิโลเมตร (150 nmi) ที่ความเร็ว 864 กิโลเมตรต่อชั่วโมง/0.24 กิโลเมตรต่อวินาที• 8 x Mk.41 VLS สำหรับ 32 x อาวุธปล่อยนำวิถี RIM-162 ESSM Block II ระยะยิง 50 กิโลเมตร หรือจรวดต่อต้านเรือดำน้ำ RUM-139C VL ASROC ท่อยิงละ 1 นัด รวม 8 นัด หรือเป้าลวงอาวุธปล่อยนำวิถี Mk.234 Nulka ท่อยิงละ 4 นัด รวม 32 นัด หรือผสมกัน (ในอนาคตสามารถติดตั้ง Mk.41 VLS เพิ่มเติมได้อีก 8 cell และสามารถติดตั้งอาวุธปล่อยนำวิถี SM-2MR ระยะยิง 167 กิโลเมตรได้)• 1 x ระบบป้องกันระยะประชิด (CIWS) แบบ Raytheon Mk 15 Phalanx block 1B ขนาด 20 มม./99 คาลิเบอร์ 6 ลำกล้องหมุน• 2 x ปืนใหญ่กล MSI-DSL/ATK DS30MR Mk 44 ขนาด 30 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว• 1 x ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยวเรือหลวงภูมิพลอดุลยเดช เป็นเรือฟริเกตของกองทัพเรือไทย ต่อขึ้นที่สาธารณรัฐเกาหลี พัฒนาขึ้นจากเรือพิฆาตชั้นควังแกโทมหาราช เรือลำนี้ถือเป็นเรือลำแรกในโครงการเรือฟริเกตสมรรถนะสูงของกองทัพเรือไทย สามารถปฏิบัติการรบ 3 มิติ ทั้งผิวน้ำ ใต้น้ำ และทางอากาศ[2] ขึ้นประจำการเมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2562 เดิมมีชื่อเดิมคือ เรือหลวงท่าจีน ต่อมาด้วยพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบัน พระราชทานนามใหม่ว่า เรือหลวงภูมิพลอดุลยเดช ตามพระนามของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร